Page 17 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 17
วรรณกรรมกบั สงั คมไทย 8-7
1.4 ท่วงทำ�นองหรือท่วงท่าท่ีแสดงออก (style) กวีนักเขียนแต่ละคนจะมีสำ�นวนในการประพันธ์ท่ี
แตกตา่ งกนั ออกไป โดยอาจพจิ ารณาผา่ นวธิ กี ารจดั เรยี งถอ้ ยค�ำ การผกู ประโยค การวรรคตอน และ การแสดง
ความคิดเห็นเฉพาะตัว (อัตวิพากษ์) ในงานวรรณกรรม โดยท่วงท่าที่แสดงออกในวรรณกรรมน้ัน อาจ
จำ�แนกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1) ท่วงท่าที่เป็นส่วนรวม คือ ท่วงท่าที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะกลุ่มหรือ
เฉพาะชาติ และ 2) ท่วงท่าที่แสดงออกเฉพาะตน คือ ท่วงท่าท่ีเกิดจากความสามารถเฉพาะตัวของกวี
นักเขียน ซงึ่ สามารถช่วยใหผ้ อู้ า่ นผู้ฟงั รบั รูถ้ ึงแนวคิด ทศั นคติ ประสบการณ์ ตลอดจนบุคลกิ ภาพของกวี
นักเขียนได้เป็นอย่างดี เช่น การท่ีสุนทรภู่นิยมประพันธ์กลอนสุภาพของตนให้มีสัมผัสสระภายในวรรค
ทำ�ให้เกิดเสียงอันไพเราะสวยงาม จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของสุนทรภู่ และส่งอิทธิพลต่อการประพันธ์
กลอนสุภาพในสมยั หลังตอ่ มาอีกด้วย
1.5 กลวิธีในการแต่ง (technique) คือ ความรู้และฝีมือในการประพันธ์ การถอดจินตนาการและ
อารมณ์สะเทือนใจของกวีนักเขียนออกมาเป็นเรื่องราว หากกวีนักเขียนไม่มีกลวิธีในการแต่งวรรณกรรม
ทดี่ ี แม้จะมอี ารมณ์สะเทือนใจอนั ยิ่งใหญ่ หรือมจี นิ ตนาการที่งดงาม กไ็ ม่อาจท�ำ ใหผ้ ูอ้ า่ นผู้ฟงั เกดิ อารมณ์
คล้อยตามหรือเกิดภาพไปตามที่กวีปรารถนาได้ เช่น งานเขียนเชิงประวัติศาสตร์ของหม่อมราชวงศ์
คึกฤทธ์ิ ปราโมช หลายเรื่อง เช่น โครงกระดูกในตู้ และพม่าเสียเมือง ผู้เขียนได้ใช้กลวิธีการเล่าเรื่องท่ี
หลากหลาย เช่น การใส่มิติแห่งเร่ืองเล่าลงไปในงานเขียน ทำ�ให้งานเขียนมีความน่าสนใจมากขึ้น ท้ังใน
เร่อื งของการบรรยายภาพ การบรรยายพฤติกรรมของบุคคลในประวตั ศิ าสตร์ ตลอดจนการทำ�ให้ผอู้ า่ นได้
ยนิ เสยี งของบคุ คลในประวตั ศิ าสตรโ์ ดยใชม้ มุ มองของผเู้ ลา่ เรอื่ งแบบผรู้ รู้ อบ ท�ำ ใหเ้ รอื่ งราวในประวตั ศิ าสตร์
มีความสนุกสนานราวกับเป็นเร่ืองท่ีแต่งขึ้นมา และผู้อ่านยังสามารถได้ยินน้ําเสียงท่ีผู้เขียนแฝงไว้ใน
การบรรยายเร่ืองราวได้ดีย่ิงขึ้น กลวิธีในการแต่งจึงนับได้ว่าเป็นเคร่ืองมือสำ�คัญที่ช่วยให้งานวรรณกรรม
นน้ั มวี รรณศิลปท์ ีส่ มบรู ณ์มากย่ิงขน้ึ
1.6 องคป์ ระกอบ (composition) งานวรรณกรรมทด่ี คี วรมอี งคป์ ระกอบทางวรรณกรรมทเ่ี หมาะสม
ครบถ้วน เช่น การมีทั้งเนื้อหาหลักและส่วนประกอบอื่นๆ เพราะหากมีเพียงเน้ือหาหลักแล้ว ก็อาจจะ
ท�ำ ใหเ้ รอ่ื งราวไม่น่าสนใจ กวีบางท่านจึงใส่สว่ นประกอบอนื่ ๆ ลงไปในวรรณกรรม เช่น บทชมความงาม
ตา่ งๆ เพอื่ เปน็ การใหค้ วามเพลดิ เพลนิ แกผ่ อู้ า่ นผฟู้ งั ทงั้ ยงั เปน็ การเปดิ โอกาสใหก้ วนี กั เขยี นไดแ้ สดงความ
สามารถในการประพนั ธอ์ กี ดว้ ย เชน่ ในวรรณกรรมเรอื่ งอลนิ จติ ตค์ �ำ ฉนั ท์ พระนพิ นธใ์ นพระราชวรวงศเ์ ธอ
กรมหม่นื กวพี จน์สุปรีชา กวที รงแทรกบทพรรณนาเมอื ง บทพรรณนากระบวนเรือพระท่นี ง่ั บทพรรณนา
ธรรมชาติ และบทพรรณนาอารมณ์ความรู้สึกของตัวละคร ซ่ึงเป็นขนบของนิทานร้อยกรองเข้าไปในเร่ือง
ท�ำ ใหเ้ รอื่ งนา่ สนใจและโดดเดน่ แตกตา่ งไปจากเรอื่ งในนบิ าตชาดก ทงั้ ยงั แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ชนั้ เชงิ การประพนั ธ์
ของกวีผ้นู ิพนธ์ได้อยา่ งชัดเจน
จากองค์ประกอบของวรรณศิลป์ท้ัง 6 องค์ประกอบข้างต้น ล้วนเป็นส่ิงที่ช่วยส่งเสริมให้
งานประพันธ์ของกวีนักเขียนมีคุณค่าความงามมากข้ึน โดยงานวรรณกรรมที่ดีนั้นไม่สามารถขาด
องคป์ ระกอบใดองคป์ ระกอบหนงึ่ ไปไดเ้ ลย ส�ำ หรบั วรรณกรรมไทย กวนี กั เขยี นของไทยตา่ งกไ็ ดส้ รา้ งสรรค์
วรรณกรรมของตนขึ้นมาโดยคำ�นงึ ถงึ องคป์ ระกอบทางวรรณศลิ ปเ์ ช่นกนั