Page 16 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 16

8-6 ศิลปะกบั สงั คมไทย
ถึงความคิดของตน ทั้งน้ี จินตนาการในวรรณกรรมจะเน้นไปในทางด้านความงามหรือความดีเป็นสำ�คัญ
เพือ่ บ�ำ รุงจิตใจให้เกิดความบันเทงิ เช่น บทชมโฉมของพระลอในลิลิตพระลอที่มีการพรรณนาวา่

            	 	 รอยรูปอินทรหยาดฟา้ 	 	 	 มาอ่าองค์ในหล้า
            แหล่งใหค้ นชม แลฤๅฯ
            	 พระองคก์ ลมกล้องแกล้ง	 	 	 เอวออ่ นอรอรรแถง้
            ถ้วนแห่งเจา้ กงู าม บารนีฯ
            	 โฉมผจญสามแผ่นแพ้	 	 	 งามเลศิ งามล้วนแล้
            รปู ตอ้ งติดใจ บารนีฯ

                                                                  (ลิลิตพระลอ. 2543: 5)
       กวไี ดใ้ ชค้ วามเปรยี บในการใหผ้ อู้ า่ นผฟู้ งั จนิ ตนาการวา่ พระลอนนั้ มโี ฉมงามมากเพยี งใด ดว้ ยการ
เทยี บวา่ พระลองามเหมอื นพระอนิ ทรท์ มี่ าอบุ ตั บิ นโลก และมคี วามงามมากจนไมม่ ผี ใู้ ดในสามโลก คอื กามภมู ิ
รปู ภมู ิ และอรปู ภมู ิ จะเทยี บเทยี มได้ การใหภ้ าพความงามของพระลอขา้ งตน้ นนี้ บั ไดว้ า่ เปน็ การแสดงออกถงึ
จนิ ตนาการของกวเี พ่อื ให้ผู้อ่านผฟู้ งั เกดิ จินตภาพไปตามสง่ิ ทก่ี วีต้องการน�ำ เสนอ
       1.3 	การแสดงออก (expression) กวีนักเขียนจะใช้การแสดงออกเป็นตัวกลางในการนำ�อารมณ์
สะเทือนและจินตนาการไปสู่ผู้อ่านผู้ฟัง โดยการแสดงออกน้ัน “เป็นการแสดงออกอย่างงาม แต่ไม่ใช่
เป็นการแสดงออกในส่ิงที่งาม” (เสฐียรโกเศศ. 2531: 51) กล่าวคือสิ่งท่ีกวีนักเขียนต้องการแสดงออก
มานั้น กวีนักเขียนจำ�ต้องใช้ภาษาและกลวิธีต่างๆ อย่างลงตัวงดงาม อันเป็นคุณสมบัติของวรรณศิลป์
การแสดงออกใหม้ ศี ลิ ปะอาจเปน็ การแสดงภาพหรอื ความรสู้ กึ ใหผ้ อู้ า่ นผฟู้ งั เหน็ อยา่ งชดั เจนและแนบเนยี น
การแสดงให้เห็นถึงนิสัยใจคอและบุคลิกภาพของตัวละครในเรื่อง หรือการแสดงภาพการเคล่ือนไหวของ
ตัวละครในเรือ่ ง เช่น การบรรยายภาพของประชาชนท่แี ตกตน่ื เมื่อทราบว่าเมืองเกดิ เพลงิ ไหมใ้ นบทละคร
เรือ่ งอิเหนาตอนหนงึ่ ความวา่

            	 	 เมื่อนั้น	 	 	 	 ฝ่ายฝูงหญงิ ชายชาวบ้าน
            เห็นเพลงิ พล่งุ โพลงทกุ โรงงาน	 	 อลหมา่ นไม่เปน็ สมประดี
            บ้างเก็บขา้ วของรอ้ งหา	 	 	 จงู มอื ภรรยาพาหนี
            แบกหีบห่อผา้ บรรดามี	 	 	 บ้างคอยตีชกชิงว่งิ ราว

                                                                    (อิเหนา. 2543: 481)
       จากบทประพนั ธข์ า้ งตน้ มกี ารใหภ้ าพประชาชนทก่ี �ำ ลงั “อลหมา่ น” กบั เหตกุ ารณไ์ ฟไหมท้ เ่ี กดิ ขน้ึ
จนถงึ กับร้สู ึก “ไมเ่ ปน็ สมประดี” หรอื ตกใจมาก จึงต่างพากัน “เกบ็ ข้าวของ” กันอย่างโกลาหล บางคนก็
วงิ่ “จงู มอื ” หนกี ันไปโดยไม่สนใจทรัพยส์ ิน บางคนก็ “แบกหีบหอ่ ผา้ ” ขนสมบตั ิของตนออกมา บางคน
ก็ฉวยโอกาสความวุ่นวายนั้น “ตีชกชิงวิ่งราว” ผู้อื่น ซ่ึงเป็นการแสดงออกถึงความสับสนวุ่นวายของ
เหตุการณไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21