Page 20 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 20

8-10 ศลิ ปะกับสงั คมไทย
            2.1.2	 การซ้ําคำ� (การเล่นเสียงคำ�พ้อง) เป็นการนำ�คำ�ที่มีลักษณะพ้องท้ังรูปพ้องทั้งเสียง

มาเรียงร้อยในบทประพันธ์เพ่ือให้เกิดการซ้ําเสียงไปมา เช่น ลักษณะการซํ้าคำ�ในลิลิตพระลอตอนหนึ่ง
ความวา่

	 	กาจับกาฝากตน้ 	 	 	 ตมู กา
กาลอดกาลากา	 	 	 ร่อนรอ้ ง
เพกาหมกู่ ามา		 	 	 จบั อยู่
กาม่ายมดั กาซรอ้ ง	 	 	 ก่งิ กา้ นกาหลง

                                                (ลลิ ติ พระลอ. 2543: 63)

            จากตัวอยา่ งขา้ งตน้ กวสี รรค�ำ ว่า “กา” ที่มคี วามหมายตา่ งๆ มาเรียงร้อยตอ่ กันเพื่อสร้าง
ความไพเราะใหแ้ กบ่ ทประพนั ธ์ โดย “กา” ทปี่ รากฏในบทประพนั ธข์ า้ งตน้ มที งั้ กาทเ่ี ปน็ สตั ว์ (กาจบั กาลอด
การ่อน กามา กาม่าย) และกาท่ีเป็นชื่อของพรรณไม้ (กาฝาก ตมกา กาลา เพกา มัดกา กาหลง)
การซํ้าคำ�จากตัวอย่างข้างต้น นอกจากจะให้ความไพเราะทางเสียงแล้ว ยังเป็นการแสดงความสามารถ
ของกวีในการเรียงร้อยถ้อยคำ�  และแสดงออกถึงพฤติกรรมของนกกาในป่าได้เป็นอย่างดี ทำ�ให้ผู้อ่านได้
รับความเพลดิ เพลินทง้ั จากการเล่นเสียงของกวีและการให้ภาพธรรมชาติที่สวยงาม

            ในลิลิตตะเลงพ่ายก็มีการซ้ําคำ�ในบทประพันธ์่ซ่ึงมีความไพเราะมากเช่นเดียวกัน ดังท่ี
กวที รงกลา่ ววา่

	 	สายหยุดหยดุ กลิ่นฟุ้ง 	  	  ยามสาย
สายบห่ ยุดเสน่หห์ าย	 	     	  หา่ งเศรา้
ก่ีคืนกว่ี ันวาย	 	 	       	  วางเทวษ ราแม่
ถวลิ ทุกขวบค่ําเช้า	 	      	  หยุดไดฉ้ ันใด

                                          (ลลิ ติ ตะเลงพา่ ย. 2538: 33)

            กวที รงเลน่ ค�ำ วา่ “สาย” และ “หยดุ ” จากชอ่ื ของดอกสายหยดุ โดยกลา่ วถงึ ความรสู้ กึ คดิ ถงึ
ของตวั ละครในเรือ่ ง คือ สมเดจ็ พระมหาอปุ ราชาของพมา่ ท่ีทรงมีต่อพระสนม เพราะดอกสายหยุดแม้จะมี
กลนิ่ หอมเพยี งใด เมอ่ื เวลาสายกจ็ ะหยดุ สง่ กลน่ิ หอม ตา่ งจากความรสู้ กึ คดิ ถงึ พระสนมของสมเดจ็ พระมหา
อุปราชาที่ไม่ว่าจะเป็นเวลาใด พระองค์ก็ยังคงคิดถึงนาง ตลอด “ทุกขวบคํ่าเช้า” อยู่เสมอจะเห็นได้ว่า
กวที รงสามารถเชอ่ื มโยงอารมณค์ วามรสู้ กึ ของตวั ละครผา่ นชอ่ื ของพชื พรรณทางธรรมชาตไิ ดอ้ ยา่ งไพเราะยง่ิ

            สนุ ทรภกู่ เ็ ปน็ กวอี กี ทา่ นหนงึ่ ทน่ี ยิ มเชอื่ มโยงชอื่ ของสถานทที่ ต่ี นไดเ้ ดนิ ทางไปถงึ กบั อารมณ์
ความรู้สึกภายในจติ ใจของตนเอง ดังเชน่ ทปี่ รากฏในนริ าศภูเขาทองตอนหนึ่งความว่า
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25