Page 23 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 23
วรรณกรรมกบั สงั คมไทย 8-13
จกั กรดี จกั กรายจกั ย้ายจกั ย่อง ไมเ่ มินไมม่ องไม่หมองไม่หมาง
งามเน้ืองามนิ่มงามยิม้ งามยา่ ง ดคู ิ้วดูคางดปู รางดูปรุง
ด่งั ดาวดง่ั เดอื นดง่ั จะเลื่อนด่ังจะลอย พิศแชม่ พิศชอ้ ยพศิ สรอ้ ยพิศสูง
ช่างปลอดชา่ งเปลอื่ งชา่ งเรืองชา่ งรงุ่ ทรงแดงทรงดงุ่ ทรงวุ้งทรงแวว
(ศิรวิ บิ ลุ กติ ติ์. 2519: 173)
กลบทข้างต้นน้ีมีชื่อว่ากลบทจตุรงคนายก ซึ่งมีลักษณะคล้ายการเล่นคำ�เป็นกระสวนมาก
กล่าวคอื ในแต่ละวรรคจะมีคำ�หลกั เปน็ ค�ำ เดียวกนั ในต�ำ แหน่งค�ำ ท่ี 1 3 5 และ 7 ส่วนคำ�ในต�ำ แหนง่ ที่ 2
กบั 4 และ 6 กับ 8 จะต้องเป็นค�ำ ทีม่ ีเสยี งพยญั ชนะเดียวกัน ซ่ึงนบั ว่าประพนั ธไ์ ดไ้ มง่ ่ายนัก ท�ำ ใหเ้ มือ่
อ่านออกเสยี งจะได้ทั้งเสยี งและจงั หวะทไี่ พเราะยง่ิ
นอกจากการเล่นกลบทในคำ�ประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพแล้ว ในวรรณกรรมคำ�โคลง
บางเรอ่ื งกม็ กี ารเลน่ กลบทดว้ ยเชน่ กนั เชน่ ในโคลงดนั้ เรอื่ งปฏสิ งั ขรณว์ ดั พระเชตพุ น ปรากฏการเลน่ กลบท
จำ�นวนมากถึง 10 ประเภท (สมใจ โพธิ์เขียว. 2550: 124-129) ตัวอย่างเช่น การเล่นกลบทอักษรสลับ
ตอนหนงึ่ ความว่า
พิดานพรรณดาษพ้ืน แดงภาย บนพอื
เสาวภาคย์สพานสรร พสรา้ ง
เตลาแตง่ ละลายเติม ไล้ติด อไุ รฤๅ
จนี เลศรจติ ลว้ นจา้ ง เลขผจง
(สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานชุ ิตชโิ นรส. 2533: 43)
จากค�ำ ประพนั ธข์ า้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ มกี ารเรยี งรอ้ ยค�ำ สลบั เสยี งพยญั ชนะในแตล่ ะวรรค โดย
ในวรรคแรกมกี ารวางสลับกันของเสียงพยัญชนะ /พ/ และ /ด/ ในวรรคท่สี องมีการวางสลับกันของเสยี ง
พยญั ชนะ /ส/ และ /พ/ ในวรรคทสี่ ามมกี ารวางสลบั กันของเสียงพยัญชนะ /ต/ และ /ล/ และในวรรคท่ี
ส่มี กี ารวางสลบั กันของเสียงพยัญชนะ /จ/ และ /ล/ ทำ�ให้เม่ืออา่ นออกเสียงแลว้ จะได้เสียงทไี่ พเราะมาก
เช่นเดียวกับกลบทช้างประสานงา ที่เน้นการซ้ําเสียงพยัญชนะของคำ�ในโคลงเพื่อให้เกิดความไพเราะ
ดงั ที่กล่าวว่า
ท�ำ จบจังหวัดดา้ ว แดนพา เหียรแฮ
โดยภาคแปดเหล่ียมบรุ ณ์ แบบใช้
บชู าสิลาเสา ใสต่ ดิ โคมนา
สูงเตบิ ขนาดเดียวได้ ด่ังนั้นปักมุม
(สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานุชติ ชโิ นรส. 2547: 50)