Page 26 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 26

8-16 ศลิ ปะกบั สังคมไทย
            นอกจากการใช้อุปลักษณ์ในการเปรียบเทียบตามท่ีแสดงข้างต้นแล้ว กวีในสมัยอยุธยา

ตอนต้นก็มักใช้อุปลักษณ์ในการเปรียบเทียบผลงานวรรณกรรมของตนกับสิ่งของที่มีความสวยงามต่างๆ
ดงั เช่นท่ีปรากฏในโคลงยวนพา่ ยวา่

                 	 	สารสยามภาคพร้อง 	 กลกานท นฤี้ า
                 คือค่มู าลาสวรรค์ 	 	 ช่อชอ้ ย
                 เบญญาพิศาลแสดง 	 	 เดอมเกียรติ พระฤา
                 คือคไู่ หมแสง้ รอ้ ย 	 	 กงึ่ กลางฯ
                 	 เป็นสรอ้ ยโสภิศพน้ 		 อปุ รมา
                 โสรมโสดาศิรธรางค์ 	 	 เวยี ไว้
                 จงคงค่กู ลั ปา 		 	 ยนื โยค
                 หายแผ่นดินฟ้าไหม้ 	 	 อยา่ หายฯ

                                                          (ลลิ ิตยวนพา่ ย. 2540: 344-345)

            กวีได้เปรียบเทียบผลงานวรรณกรรมของตนว่ามีความไพเราะสวยงาม เสมอกับ “มาลา
สวรรค”์ หรอื พวงมาลยั แหง่ สรวงสวรรคท์ รี่ อ้ ยจากไหมอยา่ งประณตี หรอื เสมอดว้ ยสรอ้ ยประดบั ทเี่ รยี งรอ้ ย
เป็นอย่างดี ซึ่งเปน็ การให้ภาพวา่ วรรณกรรมของตนนั้นมีคุณคา่ ความงามเปน็ อยา่ งมากจนอาจเทยี บดว้ ย
สง่ิ ของอนั เลอค่ายงิ่

            นอกจากการเปรยี บเทียบวา่ สง่ิ หนึง่ เท่ากบั อีกสง่ิ หนึ่ง โดยใชค้ �ำ ว่า “คือ” และ “เปน็ ” แลว้
ในวรรณกรรมไทยยังปรากฏลักษณะของอุปลักษณ์อีกประการหนึ่ง คือ การนำ�สิ่งๆ หนึ่งมาใช้แทนหรือ
เรียกแทนส่ิงที่กวีต้องการเปรียบเทียบ ลักษณะดังกล่าวมีปรากฏในวรรณกรรมหลายเร่ือง เช่น ในเสภา
เรื่องขุนชา้ งขุนแผนท่กี ล่าวว่า

	 	เมื่อแรกเชอ่ื ว่าเน้ือทบั ทมิ แท	้ 	  มาแปรเปน็ พลอยหงุ ไปเสียได้
กาลวงว่าหงสใ์ ห้ปลงใจ		 	                ดว้ ยมไิ ด้ดูหงอนแต่กอ่ นมา

                                                    (ขนุ ชา้ งขุนแผน. 2544: 261)

            จากบทประพันธ์ข้างต้นเป็นตอนท่ีขุนแผนกล่าวบริภาษนางวันทอง ว่าตอนแรกตนเองคิด
วา่ นางวนั ทองเหมอื นกับ “ทับทิมแท้” อนั มคี ่า แตต่ อนนีน้ างวนั ทองเปน็ เหมอื น “พลอยหุง” อันไรร้ าคา
หรอื แต่ก่อนน้นั เคยคิดวา่ นางวนั ทองเปน็ “หงส”์ อนั สงู ส่ง แตบ่ ัดนี้เปน็ เหมอื น “กา” อนั ต่าํ ต้อย จะเห็น
ไดว้ า่ การใชอ้ ุปลักษณข์ า้ งต้นสามารถทำ�ใหผ้ ูอ้ า่ นเกิดจนิ ตภาพจากการเปรียบเทียบของกวีไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

            กล่าวโดยสรุปแล้ว อุปลักษณ์เป็นวิธีการหน่ึงท่ีกวีใช้ในการเปรียบเทียบสิ่งต่างๆ ท่ีกวี
ต้องการ คล้ายกับการอุปมา แต่การอุปลักษณ์จะให้น้ําหนักท่ีหนักแน่นกว่า เพราะเป็นการกำ�หนดให้
สงิ่ หนง่ึ มคี า่ เทา่ กบั อีกส่ิงหน่งึ เปน็ การสรา้ งจนิ ตภาพใหผ้ ูอ้ า่ นผู้ฟงั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31