Page 30 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 30
8-20 ศลิ ปะกบั สงั คมไทย
1.1 อทิ ธพิ ลของสงั คมทม่ี ตี อ่ แนวคดิ ของวรรณกรรม แนวคดิ ของวรรณกรรม คอื ความคดิ ของเรอื่ ง
ทแี่ สดงไวใ้ นบทประพนั ธ์ โดยแนวคดิ ของวรรณกรรมมกั จะน�ำ เสนออยภู่ ายใตก้ รอบของสงั คมหรอื ความนยิ ม
ของยคุ สมยั ทปี่ ระพนั ธว์ รรณกรรมนน้ั ขน้ึ เชน่ ในสงั คมสมยั สโุ ขทยั ดว้ ยกรอบของสงั คมทป่ี กครองประเทศ
ด้วยหลักธรรมราชา วรรณกรรมที่ปรากฏในยุคสมัยน้ันจึงมีแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นธรรมราชาปรากฏ
อยู่มาก เชน่ การใหภ้ าพของพ่อขนุ รามคำ�แหงมหาราชว่าเป็น ผู้ปกครองทเ่ี ปยี่ มไปด้วยราชธรรม ในศลิ า
จารึกหลักที่ 1 หรือการให้ภาพกษัตริย์ผู้ทรงเป็นพระจักรพรรดิราชท่ีเป่ียมด้วยบุญและคุณธรรม ในเรื่อง
ไตรภมู กิ ถา เปน็ ตน้
เมื่อสภาพสังคมมีความเปลี่ยนแปลงไป วรรณกรรมไทยก็จะนำ�เสนอแนวคิดใหม่ๆ ดังจะเห็นได้
จากสงั คมไทยสมยั อยธุ ยาทมี่ คี วามซบั ซอ้ น และมรี ปู แบบการปกครองทเ่ี ดด็ ขาดมากขน้ึ คอื ปกครองแบบ
เทวราชา วรรณกรรมในสมยั อยธุ ยาจ�ำ นวนมาก น�ำ เสนอแนวคดิ ทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ผทู้ รง
มีพระราชอำ�นาจและมีฐานะเปน็ สมมติราชา ดังปรากฏในโองการแช่งนาํ้ และโคลงยวนพ่าย ซ่ึงประพันธ์
ข้นึ ในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาตอนตน้
ตอ่ มาหลงั เหตกุ ารณ์การเสยี กรุงศรีอยุธยาครัง้ ท่ี 1 ใน พ.ศ. 2112 วรรณกรรมทม่ี ีแนวคดิ แสดงให้
เห็นความเป็นสมมติราชาจึงปรากฏให้เห็นน้อยลง และเร่ิมมีการนำ�เสนอแนวคิดใหม่เก่ียวกับผู้ปกครอง
ประเทศ เช่น พระมหากษัตริย์อาจไม่จำ�เป็นท่ีจะต้องเป็นองค์อวตารของเทพเจ้า แต่จะต้องทรงเป็น
ผู้ที่พัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า หรือเป่ียมไปด้วยพระปรีชาสามารถในด้านต่างๆ ดังปรากฏใน
โคลงเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ของพระศรมี โหสถ หรอื การน�ำ เสนอแนวคดิ วา่ ผปู้ กครอง
ทไ่ี รค้ ณุ ธรรมอาจถกู ผทู้ ม่ี คี ณุ ธรรมสงู สง่ กวา่ โคน่ ลม้ ได้ ดงั ปรากฏในเรอื่ งเสอื โคค�ำ ฉนั ทว์ า่ คาวสี ามารถโคน่ ลม้
และยึดอำ�นาจจากท้าวยศภูมิ ผู้เป็นกษัตริย์ท่ีไร้คุณธรรมได้ เป็นต้น แนวคิดดังกล่าวยังถูกนำ�เสนอใน
วรรณกรรมไทยสมยั หลังต่อมาอกี หลายเรื่อง
นอกจากการน�ำ เสนอแนวคดิ เกย่ี วกบั ผปู้ กครองประเทศในวรรณกรรมสมยั อยธุ ยาแลว้ ยงั ปรากฏ
แนวคดิ ตา่ งๆ ทน่ี า่ สนใจและแสดงออกถงึ คา่ นยิ มของคนในสมยั อยธุ ยา เชน่ การน�ำ เสนอแนวคดิ วา่ ขนุ นาง
ที่ดจี ะต้องยอมเสยี สละได้แม้กระท่งั ชีวติ ของตนเองเพ่ือแสดงความจงรักภักดีต่อเจา้ นาย ดังปรากฏใหเ้ หน็
จากพฤตกิ รรมของพเี่ ลย้ี งทง้ั 4 คน คอื นายแกว้ นายขวญั นางรน่ื และนางโรย ทยี่ อมสละชวี ติ เพอ่ื ปกปอ้ ง
เจ้านายในเรื่องลิลิตพระลอ หรือพฤติกรรมของหมื่นด้งนครท่ียอมสละชีวิตเพ่ือแสดงความจงรักภักดีต่อ
เจ้านายในโคลงยวนพา่ ย
เม่ือถึงสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1-3) แนวคิดท่ีปรากฏในวรรณกรรม
ไทยบางเร่ืองยังคงมีลักษณะคล้ายกับท่ีปรากฏในสมัยกรุงศรีอยุธยา ท้ังนี้ เพราะสภาพสังคมในสมัยนั้น
ยังคงมีความคิดความเช่ือและค่านิยมต่างๆ ไม่ต่างจากสมัยกรุงศรีอยุธยา กระนั้น ก็ยังมีวรรณกรรม
บางเรอื่ งทน่ี �ำ เสนอแนวคดิ ใหมท่ นี่ า่ สนใจ เชน่ แนวคดิ ทว่ี า่ วชิ าความรไู้ มว่ า่ แขนงใดกม็ ปี ระโยชนต์ อ่ ผเู้ รยี น
ทง้ั สิน้ ดงั ปรากฏในเร่อื งพระอภัยมณวี า่ แม้พระอภัยมณจี ะเรยี นร้วู ิชาการดนตรี ซ่งึ ดเู ป็นเร่อื งไรป้ ระโยชน์
แตก่ ็ใช้ความรทู้ ีไ่ ด้ศกึ ษามานั้นในทางที่เป็นประโยชน์ได้
ตอ่ มาเมอ่ื สงั คมไทยเรมิ่ ถกู คมุ คามทางวฒั นธรรมจากประเทศมหาอำ�นาจตะวันตกก็ท�ำ ใหแ้ นวคิด
ท่ีปรากฏในงานวรรณกรรมเร่มิ มีความเปลย่ี นแปลงไป เช่น แนวคดิ เก่ยี วกับความเท่าเทยี มกันของมนุษย์
ที่แสดงผ่านพระราชนิพนธ์เร่ืองเงาะป่าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงแสดงให้