Page 34 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 34

8-24 ศลิ ปะกบั สังคมไทย
       จะเห็นไดว้ ่าภาพทก่ี วแี สดงออกมาขา้ งตน้ น้ี ก็คอื ภาพของกรุงรัตนโกสินทร์ ซง่ึ เป็นเมอื งทคี่ กึ คกั

คบั คง่ั ไปดว้ ยพอ่ คา้ ชาวตา่ งประเทศครบทง้ั “สบิ สองภาษา” และเปน็ เมอื งทป่ี ระชาชนตา่ งมชี วี ติ ความเปน็ อยู่
อยา่ งสนกุ สนาน มที ง้ั ความเจรญิ ทางศลิ ปะดา้ นดนตรนี าฏศลิ ป์ เพราะมที ง้ั การ “หดั มโหร”ี การเลน่ “เพลง
คร่ึงท่อนกลอนสักวา ท้ังสุดใจไก่ป่าสารพัน” ตลอดจนการแสดง “หนัง” ในเวลากลางคืน นอกจากน้ี
ประชาชนยงั ใช้ชวี ติ อยา่ งมคี วามสุข และมกี ารละเล่นต่างๆ มากมาย ท้งั การ “ตั้งบ่อนปลากัดนดั ไก่ชน”
การเล่น “วิง่ ววั คนโคระแทะ” การจัด “ชนแพะแกะกระบอื คู่ขนั ” และการ “เล่นวา่ วกุฬาควา้ พนัน ปกั เป้า
สนั้ โหฉ่ าววง่ิ ราวมา” ภาพดังกล่าวนน้ี า่ จะเป็นภาพท่ีปรากฏในสังคมจริงๆ กวจี ึงไดน้ �ำ แสดงให้เห็นในงาน
วรรณกรรม และนอกจากการพรรณนาภาพเมืองท่ีถกู ปรบั แปลงให้กลายเป็นภาพของสงั คมไทยแล้ว การ
อธบิ ายตวั ละครในเรื่องกถ็ กู ปรับเปล่ียนให้กลายเป็นภาพของสงั คมไทยเชน่ กัน เชน่ การชมความงามของ
ฟนั ตัวละครในเร่ืองวา่ “ทนต์แดงดงั แสงทบั ทมิ ” ซึง่ เปน็ การแสดงให้เห็นว่าตัวละครดังกล่าวน้รี ับประทาน
หมากจนท�ำ ใหฟ้ นั มสี แี ดง จะเหน็ ไดว้ า่ กวนี กั เขยี นไดป้ รบั แปลงตวั ละครในเรอ่ื งอเิ หนาใหม้ คี วามเปน็ “ไทย”
มากขึน้ โดยใสก่ รอบวฒั นธรรมของความเป็นไทยให้แก่ตัวละครในเรอื่ ง

       กล่าวโดยสรุปแล้ว จะเห็นได้ว่า สังคมมีอิทธิพลต่อการสร้างเน้ือหาของวรรณกรรมไทย โดยกวี
นกั เขยี นไทยจะผลติ งานวรรณกรรมตามความนยิ มของสงั คมในแตล่ ะยคุ สมยั นอกจากน้ี กวนี กั เขยี นไทยยงั
อาจปรบั แปลงเน้ือหาของวรรณกรรมท่มี ที ี่มาจากต่างประเทศให้มคี วามเป็นไทยมากขน้ึ ด้วยการใส่กรอบ
วัฒนธรรมความเปน็ ไทยให้แก่ตวั ละครในวรรณกรรม เพื่อให้ผู้อ่านเขา้ ใจเนือ้ หาของวรรณกรรมดี และได้
รบั ความเพลิดเพลินใจเม่อื ไดอ้ ่านหรอื ฟงั วรรณกรรมเรื่องนั้นๆ ดยี ิง่ ขน้ึ

       1.3 	อิทธิพลของสังคมที่มีต่อรูปแบบของวรรณกรรม สังคมมีส่วนสำ�คัญในการกำ�หนดรูปแบบ
ของค�ำ ประพนั ธใ์ นวรรณกรรม เชน่ ในสมยั สโุ ขทยั กวนี ยิ มสรา้ งวรรณกรรมเปน็ แบบความเรยี งรอ้ ยแกว้ เพราะ
รปู แบบของการถา่ ยทอดวรรณกรรมมลี กั ษณะทเี่ ปน็ การจดบนั ทกึ เรอื่ งราวหรอื ใชใ้ นการสวดเปน็ หลกั อกี ทงั้
คนในสังคมสมัยสุโขทัยยังมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย วรรณกรรมจึงมิได้มีการปรุงแต่งให้อลังการมากนัก
ซง่ึ แตกตา่ งโดยสนิ้ เชงิ กบั วรรณกรรมในสมยั อยธุ ยาตอนตน้ ทมี่ กี ารตกแตง่ ถอ้ ยค�ำ อยา่ งอลงั การ เพอ่ื แสดง
ใหเ้ หน็ ถงึ การใหเ้ กยี รตพิ ระมหากษตั รยิ ใ์ นฐานะทท่ี รงเปน็ สมมตเิ ทพ ดงั ทป่ี รากฏในโคลงยวนพา่ ย เปน็ ตน้

       อาจกล่าวได้ว่า อิทธิพลของสังคมที่มีต่อการกำ�หนดรูปแบบของวรรณกรรมในยุคสมัยแรกๆ ก็
คอื ความนยิ มในพระราชส�ำ นกั เนอ่ื งจากวรรณกรรมในสมยั แรกประพนั ธข์ น้ึ เพอื่ ถวายแดพ่ ระมหากษตั รยิ ์
หรอื ไวอ้ า่ นหรอื ขบั รอ้ งในพระราชสำ�นกั ซงึ่ ความนยิ มนนั้ กม็ กี ารปรบั เปลย่ี นไปตามยคุ สมยั ดงั จะเหน็ ไดว้ า่
วรรณกรรมในสมยั อยธุ ยาตอนต้น จะนิยมประพันธ์ด้วยค�ำ ประพันธป์ ระเภทโคลงดน้ั เช่น โคลงยวนพา่ ย
โคลงก�ำ สรวล และทวาทศมาส ในขณะทวี่ รรณกรรมสมยั อยธุ ยาตอนกลางจะนยิ มประพนั ธด์ ว้ ยโคลงสภุ าพ
เชน่ โคลงภาษติ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช โคลงเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนารายณ์
มหาราช โคลงนิราศนครสวรรค์ และประพันธ์ขึ้นด้วยคำ�ประพันธ์ประเภทฉันท์ เช่น สมุทรโฆษคำ�ฉันท์
อนริ ทุ ธคำ�ฉันท์ เสอื โคค�ำ ฉันท์ เปน็ ตน้ ส่วนวรรณกรรมในสมัยอยุธยาตอนปลายก็ยังคงนิยมค�ำ ประพนั ธ์
ประเภทโคลงสุภาพ เช่น โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย โคลงนิราศพระพุทธบาท
และคำ�ประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพที่เริ่มมีผู้นิยมมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากวรรณกรรมประเภทเพลงยาว
และบทละคร ซง่ึ มีอยูอ่ ย่างมากมายในสมัยนี้
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39