Page 36 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 36
8-26 ศลิ ปะกับสงั คมไทย
2.1 อิทธิพลของวรรณกรรมในการจรรโลงใจคนในสังคม การจรรโลงใจคนในสังคมนับได้ว่าเป็น
พันธกิจหน้าที่หลักของวรรณกรรม เพราะหากพิจารณาวรรณกรรมในฐานะท่ีเป็นศิลปะแล้ว ก็จะเห็นได้
วา่ วรรณกรรมถกู สรา้ งขน้ึ เพอ่ื ใหส้ นุ ทรยี ะแกผ่ อู้ า่ นผฟู้ งั โดยสนุ ทรยี ะดงั กลา่ วนยี้ อ่ มเกดิ จากการใชภ้ าษาท่ี
ไพเราะในวรรณกรรม และการเกดิ จนิ ตนาการจากถอ้ ยค�ำ ทกี่ วนี กั เขยี นเลอื กสรรมาเรยี งรอ้ ย มวี รรณกรรม
จำ�นวนหน่ึงที่เน้นยํ้าให้เห็นถึงพันธกิจหน้าท่ีของวรรณกรรม โดยแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนในวรรณกรรม
ของตน ดังเช่นกวีผู้ประพันธ์เรื่องลิลิตพระลอ ท่ีแสดงให้เห็นว่าวรรณกรรมของตนว่ามีความไพเราะอย่าง
หาทีส่ ดุ มไิ ด้ ดังปรากฏโคลงในเรอื่ งลลิ ิตพระลอหลายบท เชน่
สรวลเสียงขับอ่านอา้ ง ใดปาน (ลลิ ติ พระลอ. 2543: 2)
ฟงั เสนาะใดปูน เปรยี บได้
เกลากลอนกลา่ วกลกานท ์ กลกล่อม ใจนา
ถวายบ�ำ เรอทา้ วไท ้ ธริ าชผมู้ บี ุญฯ
กวกี ลา่ วชนื่ ชมวรรณกรรมทต่ี นเองประพนั ธว์ า่ มกี ารใชค้ �ำ ทม่ี คี วามไพเราะมาก เมอื่ เวลาทอี่ า่ นขบั
กม็ มิ สี งิ่ ใดทปี่ านเปรยี บได้ และยง่ิ เมอื่ ฟงั เสยี งของค�ำ นนั้ ก็ “เสนาะ” หามสี งิ่ ใด “ปนู เปรยี บได”้ ทง้ั นเ้ี พราะ
วรรณกรรมเรื่องนีไ้ ด้ผา่ นการ “เกลากลอน” มาอย่างดแี ล้ว เพ่ือใชใ้ นการขบั “ถวายบำ�เรอทา้ วไท้ ธิราช
ผมู้ บี ญุ ” คอื ถวายพระมหากษตั รยิ ์ เพอื่ ใหท้ รงส�ำ ราญพระราชหฤทยั และไมเ่ พยี งแตพ่ ระเจา้ แผน่ ดนิ เทา่ นนั้ ท่ี
เมอื่ ฟงั แลว้ รสู้ กึ วา่ ไพเราะ เพราะไมว่ า่ จะใครกต็ ามเมอ่ื ไดอ้ า่ นหรอื ฟงั วรรณกรรมเรอ่ื งน้ี กย็ อ่ มเกดิ สนุ ทรยี ะ
ไม่ต่างกัน กวีนักเขียนยังกล่าวชื่นชมผลงานของตนเองในช่วงท้ายของวรรณกรรมซึ่งมีความไพเราะมาก
อีกบทหน่ึงไว้ว่า
เปน็ ศรีแกป่ ากผู้ ผจงฉันท์ (ลิลิตพระลอ. 2543: 149)
คือคูม่ าลาสรร เรียบร้อย
เป็นถนิมประดบั กรรณ ทกุ เม่ือ
กลกระแจะตอ้ งน้อย หน่ึงได้แรงใจฯ
กวีกล่าวช่ืนชมผลงานวรรณกรรมของตนอีกครั้งว่าเป็นงานที่มีความไพเราะจนเป็น “ศรีแก่ปาก
ผู้ผจงฉนั ท์” และเปรียบเสมอื นกบั พวงมาลัยท่ีมกี ารเรียงร้อยอย่างสวยงาม เป็นเสมือนกับเครอื่ งประดบั หู
ทีส่ รา้ งความไพเราะให้แกผ่ ้สู วมใส่ คือ ผู้ฟัง และเป็นเสมือนเครอ่ื งหอมทเี่ มอ่ื สัมผัสแมเ้ พียงเล็กน้อย กจ็ ะ
พบกบั ความหอมหวนอย่างหาที่สุดมไิ ด้ จากค�ำ ประพนั ธน์ ี้ เทา่ กบั เปน็ การแสดงให้เห็นว่าวรรณกรรมลิลติ
พระลอถกู สรา้ งขนึ้ เพอ่ื ให้สุนทรียะแก่ผู้อา่ น กวใี นฐานะท่ีเปน็ สมาชิกในสังคมและเปน็ ผู้อา่ นผ้ฟู งั คนหนึง่ ก็
ยังอดมิไดท้ ไ่ี ด้จะรบั ความเพลิดเพลินใจทไ่ี ด้อา่ นหรอื ฟังวรรณกรรมเรอื่ งน้ี