Page 38 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 38
8-28 ศิลปะกับสังคมไทย
กล่าวโดยสรุปแล้ว วรรณกรรมมีอิทธิพลต่อสังคมในด้านการให้ความเพลิดเพลินบันเทิงใจ
แก่ผู้อ่านผู้ฟังในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม โดยวรรณกรรมส่วนใหญ่ต่างยึดถือพันธกิจหน้าท่ีน้ีเป็น
ส�ำ คญั เพราะจดุ มงุ่ หมายสงู สดุ ของการสรา้ งวรรณกรรม คอื การสรา้ งสนุ ทรยี ภาพใหแ้ กผ่ อู้ า่ นผฟู้ งั กระนน้ั
วรรณกรรมทด่ี กี ค็ วรใหข้ อ้ คดิ ทป่ี ระโยชน์ เพอ่ื เปน็ การสรา้ ง “ปญั ญา” ใหเ้ กดิ ขน้ึ แกผ่ อู้ า่ นผฟู้ งั อกี ดว้ ย และ
ไม่ว่าเวลาจะผา่ นไปนานสักเท่าใด วรรณกรรมทด่ี ีกจ็ ะยงั คงคณุ คา่ ความงามนัน้ ไวไ้ มเ่ ปล่ยี นแปร
2.2 อิทธิพลของวรรณกรรมในการจรรโลงสังคม วรรณกรรมมีบทบาทสำ�คัญในการจรรโลงสังคม
ใหส้ งบสขุ เรยี บรอ้ ย ทง้ั นี้ เพราะวรรณกรรมหลายเรอ่ื งน�ำ เสนอขอ้ คดิ เหน็ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ ปลกู ฝงั คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม หรอื ขดั เกลาจติ ใจมนษุ ยใ์ หส้ งู สง่ ขนึ้ ดงั นน้ั ผอู้ า่ นผฟู้ งั วรรณกรรม หากไดน้ �ำ ประเดน็ ขอ้ คดิ ตา่ งๆ
ทก่ี วนี ำ�เสนอผ่านงานวรรณกรรมมาใชแ้ ล้ว ก็จะเป็นประโยชน์แกต่ นเองและสงั คมเปน็ อย่างมาก
วรรณกรรมสมยั สโุ ขทยั เรอื่ งหนงึ่ ทส่ี �ำ คญั คอื ไตรภมู กิ ถา เปน็ ตวั อยา่ งของวรรณกรรมทม่ี อี ทิ ธพิ ล
อยา่ งยง่ิ ตอ่ การจรรโลงสงั คม เนอื่ งจากเนอื้ หาของเรอื่ งมงุ่ เนน้ ในเรอ่ื งของการสง่ เสรมิ ใหค้ นในสงั คมกระท�ำ
แตส่ งิ่ ทดี่ เี ปน็ ประโยชน์ โดยเชอื่ วา่ หากสนิ้ ชวี ติ ไปกจ็ ะไดร้ บั ความสขุ สบายในสวรรคท์ ส่ี วยงาม ตรงกนั ขา้ ม
หากผใู้ ดกระทำ�การอนั ชว่ั รา้ ย ไมด่ �ำ รงตนอย่ใู นเบญจศีล กจ็ ะต้องไปรบั โทษทณั ฑ์ในนรกอันนา่ สยดสยอง
หรอื วรรณกรรมสมยั อยธุ ยาตอนตน้ อยา่ งเรอื่ งโองการแชง่ นา้ํ กม็ งุ่ เนน้ ในการสรา้ งความจงรกั ภกั ดใี นสถาบนั
พระมหากษตั รยิ ์ โดยมเี นอื้ หากลา่ วสาปแชง่ ผทู้ ค่ี ดิ คดทรยศตอ่ ชาตบิ า้ นเมอื ง และใหพ้ รแกผ่ ทู้ ม่ี คี วามจงรกั
ภกั ดซี อ่ื ตรงตอ่ บา้ นเมอื ง ซง่ึ มสี ว่ นชว่ ยสง่ เสรมิ ใหข้ า้ ราชการ ตลอดจนคนในสงั คมมกิ ลา้ ทจ่ี ะเปน็ กบฏทรยศ
แผน่ ดนิ จงึ นบั ไดว้ า่ วรรณกรรมทง้ั สองเรอื่ งขา้ งตน้ นม้ี บี ทบาทส�ำ คญั ในฐานะทเ่ี ปน็ เครอื่ งควบคมุ ประชาชน
ใหอ้ ยู่ในกรอบของศีลธรรมและปฏบิ ัติตนตามหนา้ ทข่ี องพลเมืองทดี่ ี
นอกจากนี้ วรรณกรรมหลายเรื่องก็ได้นำ�เสนอข้อคิดที่เป็นประโยชน์ต่อการดำ�รงชีวิตในสังคม
เสมือนหน่ึงเป็นการกำ�หนดคุณธรรมและจริยธรรมพ้ืนฐานในการดำ�รงชีวิตและการอยู่ร่วมกันในสังคม
ดังจะเห็นได้จากวรรณกรรมท่ีมีเนื้อหาเป็นคำ�สอนหรือภาษิตต่างๆ เช่น เร่ืองสุภาษิตพระร่วง ซึ่งเป็น
วรรณกรรมที่มีเน้ือหาสอนผู้อ่านผู้ฟังในเรื่องการดำ�เนินชีวิตท่ัวๆ ไป ที่ผู้อ่านผู้ฟังสามารถนำ�ไปใช้เป็น
ขอ้ คดิ อันเปน็ ประโยชนไ์ ด้ เช่นที่กลา่ วว่า
เม่ือน้อยให้เรียนวิชา ให้หาสินเม่ือใหญ่ อย่าใฝ่เอาทรัพย์ท่านอย่า ริร่านแก่ความ
ประพฤตติ ามบรู พระบอบ เอาแตช่ อบเสยี ผดิ อยา่ กอปรกจิ เปน็ พาล อยา่ อวดหาญแกเ่ พอื่ น เขา้ เถอ่ื น
อย่าลืมพร้า หน้าศึกอย่านอนใจ ไปเรือนท่านอย่าน่ังนาน การเรือนตนเร่งคิด อย่านั่งชิดผู้ใหญ่
อย่าใฝ่สูงให้เกนิ ศกั ดิ…์
(สุภาษติ พระรว่ ง. 2528: 243)
จากตวั อยา่ งค�ำ ประพนั ธข์ า้ งตน้ กวเี สนอแนะแกผ่ อู้ า่ นผฟู้ งั ในหลายประเดน็ เชน่ เดก็ ควรเอาใจใส่
ด้านการเรียนมากกว่าการทำ�งาน ไม่ควรเป็นคนโลภ ไม่ควรหาเรื่องใส่ตัว ควรประพฤติตนตามระเบียบ
แบบแผนของสงั คม อยา่ ประกอบอาชพี ทจุ รติ ไมค่ วรท�ำ ตวั ประมาทเมอ่ื ตอ้ งเขา้ ปา่ หรอื ในระหวา่ งสงคราม
เม่ือไปบ้านของคนอื่นก็ควรมีความเกรงใจเจ้าของบ้าน อย่าตีสนิทผู้ใหญ่ให้มากเกินงาม และอย่าใฝ่สูง