Page 35 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 35

วรรณกรรมกบั สงั คมไทย 8-25
       นับต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายเป็นต้นมา รูปแบบของคำ�ประพันธ์ที่ได้รับความนิยมเป็น
อย่างมากก็คือกลอนสุภาพ ท้ังน้ีอาจเพราะเป็นคำ�ประพันธ์ที่แต่งง่ายและมีความไพเราะ ทำ�ให้ปรากฏ
วรรณกรรมกลอนสภุ าพเปน็ จำ�นวนมาก และเมอ่ื วรรณกรรมเริม่ เขา้ ไปเป็นสว่ นหนงึ่ ในชีวติ ของประชาชน
ทวั่ ไป นบั ตง้ั แตใ่ นรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทสี่ นุ ทรภแู่ ตง่ หนงั สอื เพอ่ื ขายเลยี้ งชพี สนุ ทรภู่
กป็ ระพนั ธ์งานสว่ นใหญ่ดว้ ยคำ�ประพันธป์ ระเภทกลอนสภุ าพ เพราะนอกจากจะเปน็ ค�ำ ประพันธ์ทีส่ ุนทรภู่
ถนดั แล้ว กลอนสุภาพยังเป็นทคี่ ุ้นเคยของคนในสังคมโดยทว่ั ไปอกี ด้วย
       ต่อมาเมอื่ สังคมไทยเริม่ รบั อทิ ธพิ ลทางด้านรูปแบบวรรณกรรมจากชาตติ ะวนั ตก กวนี ักเขยี นไทย
บางส่วนก็เร่ิมหันไปเขียนวรรณกรรมรูปแบบใหม่ๆ คือนวนิยายและเรื่องส้ันกันมากขึ้น แต่ในสมัยแรกๆ
ความนิยมในนวนิยายและเรื่องส้ันยังจำ�กัดอยู่ในวงแคบ เพราะคนในสังคมโดยมากยังไม่คุ้นเคยกับ
วรรณกรรมรปู แบบใหมเ่ หลา่ นี้ กระท่งั ประมาณ พ.ศ. 2470 นวนยิ ายและเร่อื งสั้นจึงเรม่ิ ได้รบั การยอมรับ
จากคนในสงั คมแทนทว่ี รรณกรรมรปู แบบเดมิ กลา่ วคอื บทรอ้ ยกรองเรอ่ื งเสอื่ มความนยิ มลงไปตามกาลเวลา
ท�ำ ใหเ้ กดิ การสรา้ งวรรณกรรมรปู แบบใหมๆ่ ขนึ้ ในสงั คม เชน่ นวนยิ ายชดุ ทส่ี �ำ คญั คอื เพชรพระอมุ า ของ
พนมเทยี น และลอ่ งไพร ของนอ้ ย อนิ ทนนท์ นวนยิ ายขนาดสน้ั ทสี่ �ำ คญั เชน่ จนตรอก ของชาติ กอบจติ ติ
นวนยิ ายทป่ี ระพนั ธจ์ นดคู ลา้ ยกวนี พิ นธ์ เชน่ เจา้ จนั ทผ์ มหอม นริ าศพระธาตอุ นิ ทแ์ ขวน ของมาลา ค�ำ จนั ทร์
เรอื่ งสนั้ ขนาดยาว เชน่ อญั มณแี ห่งชีวติ ของอญั ชัน แผ่นดนิ อ่นื ของกนกพงศ์ สงสมพันธ์ และเร่ืองสั้น
แนวทดลองต่างๆ ของวินทร์ เลียววาริณ เป็นต้น นวนิยายและเรื่องส้ันเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นภายใต้สังคม
สมัยใหม่ท่ีคนในสังคมต้องการส่ิงแปลกใหม่ จึงเป็นแรงผลักดันสำ�คัญท่ีทำ�ให้วรรณกรรมต้องเปลี่ยน
รปู แบบไปตามความตอ้ งการของสงั คม
       จากที่กล่าวมาข้างต้นน้ี ทำ�ให้เห็นได้ว่า สังคมมีอิทธิพลอย่างย่ิงต่อวรรณกรรม ท้ังในส่วนของ
แนวคิด เนอื้ หา และรปู แบบของวรรณกรรม ท้ังน้ี เพราะกวีนกั เขยี น ซ่ึงเปน็ ส่วนหนงึ่ ของสังคมผลติ งาน
วรรณกรรมให้ผู้อ่านผู้ฟัง ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของสังคมเช่นกัน ดังนั้น กรอบความคิด เนื้อหา และวิธีการ
นำ�เสนอของวรรณกรรมจึงผันแปรไปตามสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป จนอาจกล่าวได้ว่าหากต้องการ
ทราบว่าคนในสังคมสมัยหน่ึงๆ มีความรู้สึกนึกคิดและค่านิยมอะไร ก็สามารถศึกษาได้จากวรรณกรรม
ในยุคสมัยน้นั ๆ

2. 	 อิทธิพลของวรรณกรรมที่มตี อ่ สังคม

       นอกจากสังคมจะมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์วรรณกรรมในลักษณะต่างๆ แล้ว วรรณกรรมเองก็
ส่งอิทธิพลให้แก่สังคมเช่นเดียวกัน เพราะตามพันธกิจหน้าที่ของวรรณกรรม วรรณกรรมถูกสร้างขึ้นเพ่ือ
สร้างความบันเทิงใจให้คนในสังคม ดังท่ีกล่าวกันว่า วรรณกรรมช่วยจรรโลงจิตใจของคนในสังคมให้ดีข้ึน
นอกจากนี้ วรรณกรรมยังใหค้ วามรู้เกีย่ วกับสภาพสงั คมในยคุ สมยั ต่างๆ และให้ขอ้ คิดทีเ่ ป็นประโยชนแ์ ก่
ผู้อ่านผู้ฟัง จึงอาจกล่าวได้ว่าวรรณกรรมช่วยจรรโลงสังคมให้มีความปกติสุขเรียบร้อย ในที่นี้ขอกล่าวถึง
อิทธพิ ลของวรรณกรรมที่มีต่อสังคม โดยจำ�แนกออกเป็น 2 ประเดน็ สำ�คญั คือ อิทธพิ ลของวรรณกรรมใน
การจรรโลงใจคนในสังคม และอทิ ธพิ ลของวรรณกรรมในการจรรโลงสังคม ซง่ึ มีรายละเอียด ดังนี้
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40