Page 31 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 31
วรรณกรรมกับสังคมไทย 8-21
เห็นว่าคนป่าก็มีความคิดความรู้สึกไม่ต่างจากคนเมือง พระองค์จึงทรงนำ�คนป่ามาเป็นตัวละครเอกของ
เร่ือง หรือการนำ�เสนอแนวคิดท่ีว่าผู้หญิงนอกจากจะต้องมีความสวยงามแล้ว ยังต้องเป็นคนฉลาดด้วย
ดงั ปรากฏในพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั หลายเรอื่ ง เชน่ เรอื่ งสาวติ รที แ่ี สดง
ให้เหน็ วา่ นางไดใ้ ชป้ ัญญาในการช่วยมใิ ห้ท้าวสัตยวานผเู้ ปน็ พระสวามถี กู พระยมนำ�ตัวไป
ส่วนแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองประเทศในยุคสมัยท่ีบ้านเมืองมีความแตกแยกทางความคิดน้ัน
แนวคดิ เรอ่ื งความรกั ชาตเิ ปน็ แนวคดิ ส�ำ คญั หนง่ึ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงน�ำ เสนอผา่ น
งานพระราชนพิ นธข์ องพระองค์ เนื่องจากสังคมในสมัยนัน้ ตอ้ งการความเปน็ เอกภาพเพื่อปอ้ งกนั ประเทศ
จากภัยคุกคามของลัทธิจักรวรรดินิยม ดังเช่นในบทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ พระองค์ทรงนำ�เสนอให้
เหน็ วา่ ไมว่ า่ จะเปน็ เพศใด อายเุ ทา่ ใดกส็ ามารถรว่ มกนั ปกปอ้ งอธปิ ไตยของชาตดิ ว้ ยการเปน็ เสอื ปา่ ไดเ้ ชน่ กนั
ขณะเดียวกันที่ปัญญาชนในสังคมก็เร่ิมต่ืนตัวกับรูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตย ส่งผลให้ปรากฏ
วรรณกรรมท่ีมแี นวคดิ ในการเรยี กรอ้ งรปู แบบการปกครองแบบใหม่นเี้ ป็นจ�ำ นวนมาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
ในงานวรรณกรรมของเทียนวรรณและ ก.ศ.ร. กหุ ลาบ
นกั เขยี นกลมุ่ ปญั ญาชนในสงั คมไทยเรมิ่ น�ำ เสนอแนวคดิ ในวรรณกรรมทมี่ ลี กั ษณะของการวพิ ากษ์
สงั คมนบั ตงั้ แตป่ ระมาณ พ.ศ. 2470 เปน็ ตน้ มา ดงั เชน่ ศรบี รู พา ทนี่ �ำ เสนอแนวคดิ วา่ คนในสงั คมมชี วี ติ ความ
เป็นอยู่แตกต่างกันมากระหว่างคนรวยกับคนจนผ่านวรรณกรรมเรื่องสงครามชีวิต หรือการที่ดอกไม้สด
(หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์) นำ�เสนอแนวคิดเก่ียวกับผู้หญิงสมัยใหม่ว่าต้องสามารถเข้าสมาคม
กบั ผ้อู ื่น มคี วามคิดเป็นของตนเอง และรูจ้ ักแสดงความคดิ เห็นผ่านวรรณกรรมของตนเองหลายเรื่อง เชน่
เรอื่ งนิจ เรื่องหน่งึ ในรอ้ ย และเร่ืองอบุ ัติเหตุ เป็นต้น การนำ�เสนอแนวคดิ ดงั กลา่ วนท้ี �ำ ให้วรรณกรรมไทย
เริม่ ถูกจบั ตาจากสงั คมเพราะเปน็ การแสดงทรรศนะในเชิงวิพากษ์ทม่ี ที ้งั ผทู้ เ่ี หน็ ด้วยและผ้ทู ่ไี มเ่ ห็นดว้ ย
นอกจากน้ี การนำ�เสนอแนวคิดในเชิงวิพากษ์ยังได้พัฒนาไปสู่การสร้างวรรณกรรมที่มีแนวคิด
“เพอื่ ชวี ติ ” คอื มงุ่ เนน้ ทจ่ี ะใหว้ รรณกรรมเปน็ เครอื่ งแสดงออกทางความคดิ มากกวา่ การใหค้ วามบนั เทงิ ใจ
แก่ผู้อ่าน เช่น การนำ�เสนอแนวคิดให้สร้างความเท่าเทียมกันขึ้นในสังคมในวรรณกรรมแนวเพ่ือชีวิตซ่ึง
ปรากฏมากในชว่ ง พ.ศ. 2493-2500 และชว่ ง พ.ศ. 2516-2519 ทงั้ นเ้ี พราะแมว้ า่ สงั คมไทยจะเปลย่ี นแปลง
รปู แบบการปกครองมาเปน็ ระบอบประชาธปิ ไตย แตส่ ภาพชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนนน้ั กย็ งั คงมไิ ดม้ ี
การเปล่ียนแปลงให้ดีข้ึนมากนัก หรือวรรณกรรมท่ีมีแนวคิดต่อต้านระบบความคิดของคนในสังคม เช่น
กวีนิพนธ์เรื่องเพลงเถื่อนแห่งสถาบัน ของวิทยากร เชียงกูล ที่นำ�เสนอความคิดว่าสถาบันการศึกษาควร
มุ่งเน้นท่ีจะให้ความรู้แก่นักศึกษาอย่างรอบด้านและแท้จริง มิใช่ทำ�หน้าที่เพียงการ “ให้กระดาษ” หรือ
ปริญญาบัตรเท่านัน้ ทั้งนี้ เพราะสงั คมสมยั นั้น คือ ในชว่ ง พ.ศ. 2507-2516 เรมิ่ มกี ารผ่อนคลายความ
ตงึ เครียดทางการเมอื งลง นกั เขยี นท่ีเปน็ นิสิตนกั ศึกษาจงึ สามารถแสดงออกทางความคดิ ไดม้ ากขน้ึ
เม่ือสังคมไทยมีความซับซ้อนมากข้ึน ปัญหาทางสังคมรูปแบบใหม่ๆ ก็เร่ิมปรากฏข้ึน ทำ�ให้
นักเขียนได้นำ�มาเป็นแนวคิดสำ�คัญในการสร้างวรรณกรรมเพื่อสะท้อนความจริงของสังคมเพื่อให้เกิด
การตั้งคำ�ถามกับสิ่งที่เกิดขึ้นในสังคม เช่น การตั้งคำ�ถามว่าผู้หญิงท่ีขายบริการทางเพศเป็นบุคคลที่
นา่ รงั เกยี จหรอื นา่ สงสาร เพราะความยากจนและไรก้ ารศกึ ษาหรอื ไมท่ ท่ี �ำ ใหต้ อ้ งประกอบอาชพี เชน่ นน้ั ใน
เรอ่ื งสนั้ เรอ่ื งรถไฟคร้งั ทห่ี ้า ของอศั ศิริ ธรรมโชติ หรอื การต้ังค�ำ ถามว่าเหตใุ ดผู้หญงิ จงึ ต้องมหี น้าที่ในการ