Page 28 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 28
8-18 ศิลปะกบั สังคมไทย
2.2.4 อติพจน์ เป็นการแสดงภาพท่ีเกินไปจากความเป็นจริง โดยกวีนักเขียนจะใช้อธิพจน์
ในการแสดงความรู้สึกต่างๆ หรือให้ภาพต่างๆ ท่ีทำ�ให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพตามกวี การใช้อธิพจน์พบอยู่
อย่างแพร่หลายในวรรณกรรมไทย เชน่ ความตอนหน่ึงในลลิ ติ พระลอทีก่ ล่าวว่า
เสยี งโหยเสยี งไหม้ ี่ เรือนหลวง
ขนุ หมืน่ มนตรีปวง ป่วยซ้ํา
เรอื นราษฎร์ร่าํ ตีทรวง ทกุ ขท์ ั่ว กนั นา
เมืองจะเยน็ เปนน้ํา ย่อมนํา้ ตาครวญฯ
(ลิลติ พระลอ. 2543: 53)
จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ เปน็ ตอนทก่ี วพี รรณนาถงึ เหตกุ ารณท์ พ่ี ระลอก�ำ ลงั จะทง้ิ เมอื งสรวงไปหา
พระเพื่อนพระแพง ซึ่งทำ�ให้เหล่านางใน ขุนนาง ตลอดจนประชาชนชาวเมืองต่างรู้สึกเสียใจมาก จนกวี
กล่าวว่าทำ�ให้เมืองสรวงนั้นเย็นไปด้วยนํ้าตาแห่งความเสียใจ ซึ่งจะเห็นได้ว่าเป็นเรื่องเกินจริง กระนั้นก็
เปน็ การแสดงออกว่าคนท้งั หลายร้สู กึ เสยี ใจมากเพยี งใด
ในวรรณกรรมบางเรื่อง กวีใช้อธิพจน์ในการพรรณนาความงามของนาง โดยแสดงให้เห็น
ว่านางน้นั มีความสวยงามมากจนไมอ่ าจพรรณนาได้ ดงั เชน่ ที่ปรากฏในโคลงก�ำ สรวล ตอนหนึง่ ความวา่
โฉมแมจ่ กั ฝากฟ้า เกรงอนิ ทร์ หยอกนา
อนิ ทรทา่ นเทอกโฉมเอา ส่ฟู า้
โฉมแมจ่ ักฝากดนิ ดนิ ท่าน แล้วแฮ
ดนิ ฤขัดเจ้าหล้า ส่สู มสองสมฯ
(โคลงกำ�สรวลศรีปราชญ์. 2511: 28)
แม้กวีจะไม่ได้กล่าวถึงความงามของนางโดยละเอียด แต่กวีก็แสดงให้เห็นว่า นางน้ันมี
ความงามมากจนอาจเปน็ ท่ีหมายปองของพระอินทรแ์ ละของ “เจา้ หล้า” หรือพระมหากษตั ริย์ได้ ซงึ่ เป็น
การกล่าวเกินจริงท่ีสามารถทำ�ให้ผู้อ่านผู้ฟังเกิดจินตภาพในความงามของนางว่ามีมากเพียงใดได้อย่าง
ชดั เจน
จากตัวอยา่ งทีไ่ ดแ้ สดงข้างต้น ท�ำ ใหเ้ ห็นไดว้ ่าอตพิ จนเ์ ป็นวธิ กี ารทก่ี วผี ู้เขียนใช้ในการสร้าง
ภาพทตี่ นตอ้ งการน�ำ เสนอใหแ้ กผ่ อู้ า่ นเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจมากยงิ่ ขน้ึ และเปน็ วธิ กี ารส�ำ คญั ทก่ี วผี เู้ ขยี นใช้
ในการแสดงจินตนาการและแสดงความสามารถทางการประพันธไ์ ด้เปน็ อย่างดี
กลา่ วโดยสรปุ แลว้ การสรา้ งรสความในวรรณกรรมไทยสามารถท�ำ ไดห้ ลายวธิ กี าร เชน่ การ
ใช้อปุ มา อปุ ลักษณ์ บุคลาธษิ ฐาน และอธิพจน์ ซึ่งเปน็ สว่ นส�ำ คัญทที่ ำ�ใหผ้ อู้ ่านผูฟ้ งั เกิดอารมณค์ วามรสู้ กึ
และมองเหน็ ภาพทกี่ วตี อ้ งการน�ำ เสนอชดั เจนยงิ่ ขน้ึ ท�ำ ใหผ้ อู้ า่ นผฟู้ งั เกดิ ความเพลดิ เพลนิ ใจและรบั รไู้ ดถ้ งึ
“รส” ของความที่กวีรงั สรรค์ขนึ้