Page 25 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 25

ตวั นางเปน็ ไทยแตใ่ จทาส	 	               วรรณกรรมกบั สังคมไทย 8-15
ดงั่ สกุ รฟอนฝ่าแต่อาจม	 	        ไม่รกั ชาตริ สหวานมาพาลขม
นา้ํ ใจนางเปรยี บอยา่ งชลาลัย	 	  ห่อนนยิ มรกั รสสคุ นธาร
เสียดายทรงวิไลแต่ใจพาล	 	         ไม่เลือกไหลหว้ ยหนองคลองละหาน
สุกแดงด่ังแสงปัทมราช		 	          ประมาณเหมอื นหน่ึงผลอทุ มุ พร
เรารใู้ จแลว้ มใิ หอ้ นาทร	 	 	   ขา้ งในลว้ นกิมิชาตเิ บยี นบ่อน
                                  จะพาคนื นครในราตรฯี

                                         (กากีกลอนสุภาพ. 2515: 30-31)

            เมื่อพระยาครุฑทราบความจริงว่านางกากีลอบเป็นชู้กับคนธรรพ์แล้ว จึงรู้สึกโกรธและ
รงั เกยี จนางกากเี ปน็ อยา่ งมาก และไดบ้ รภิ าษนางกากโี ดยเปรยี บเทยี บกบั สงิ่ ตา่ ง เชน่ เปน็ เหมอื นสกุ รทช่ี อบ
คลกุ ตวั อยใู่ นโคลนอนั สกปรก และเปน็ เหมอื นนา้ํ ขงั ทรี่ อคอยวนั เนา่ เสยี กลา่ วคอื เปน็ บคุ คลไมร่ กั ดี จนอยู่
ในความมวั เมาแหง่ กเิ ลสตณั หา นอกจากนี้ นางกากยี งั เหมอื นกบั ผลอทุ มุ พร หรอื ผลมะเดอ่ื ทแี่ มว้ า่ ภายนอก
จะดดู เี พราะมสี สี นั อนั แดงงาม ทวา่ ภายในกลบั เตม็ ไปดว้ ยหนอนชอนไช กลา่ วคอื แมว้ า่ นางกากจี ะสวยงาม
มากเพยี งใด แตจ่ ติ ใจกลบั สกปรกเนา่ เหมน็ ยง่ิ นกั การใชอ้ ปุ มาในการเปรยี บเทยี บนางกากกี บั สง่ิ ตา่ งๆ ขา้ งตน้
จึงนับได้ว่าเป็นวิธีการสำ�คัญท่ีช่วยให้ผู้อ่านผู้ฟังมองเห็นถึงลักษณะนิสัยและจิตใจของนางกากีได้ชัดเจน
ยิง่ ข้ึน

            2.2.2 	อปุ ลกั ษณ์ เปน็ การเปรยี บเทยี บสงิ่ ๆ หนงึ่ วา่ มคี วามเทา่ กนั กบั สง่ิ อกี สงิ่ หนง่ึ จงึ มนี าํ้ หนกั
ของการเปรียบเทียบมากกว่าอุปมา เพราะแสดงให้เห็นว่าส่ิงของที่นำ�มาเปรียบเทียบกันน้ันสามารถแทน
กนั ได้ เนอ่ื งจากมีความเสมอกนั วิธกี ารดังกลา่ วสามารถก่อจนิ ตภาพให้แก่ผอู้ า่ นผ้ฟู งั ได้ดเี ชน่ กนั วิธีการ
อุปลักษณ์ที่ปรากฏในวรรณกรรมไทยมีหลายตัวอย่างเช่น ในลิลิตตะเลงพ่าย สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส ทรงใชก้ ารอปุ ลกั ษณใ์ นการเปรยี บเทยี บชา้ งทรงของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
และสมเด็จพระมหาอุปราชาของพมา่ ไวอ้ ย่างเหน็ ภาพวา่

	 	หสั ดนิ ปน่ิ ธเรศไท้	 	 	 โททรง
คอื สมิทธิมาตงค์	 	 	 หนึ่งอ้าง
หน่งึ คือคิรเิ มขล์มง	 	 	 คลอาสน์ มารเอย
เศียรส่ายหงายงาคว้าง		 	 ไขวแ่ ควง้ แทงโถม

                                            (ลลิ ิตตะเลงพ่าย. 2538: 120)

            กวีทรงเปรียบเทียบช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชว่าคือ “สมิทธิมาตงค์” หรือ
ช้างอนั ประเสริฐสมบรู ณ์ คือ ชา้ งเอราวัณของพระอินทร์ ส่วนช้างทรงของสมเดจ็ พระมหาอปุ ราชานั้น คือ
“คิริเมขล์” หรือช้างทรงของพญามาร ซ่ึงเป็นการเปรียบเทียบให้เห็นว่าสมเด็จพระนเรศวรมหาราช คือ
พระอนิ ทร์ ท่กี ำ�ลงั รบอยู่กับพญามาร คือ สมเด็จพระมหาอุปราชา ซึ่งธรรมะย่อมมีชัยเหนืออธรรมในทีส่ ดุ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30