Page 22 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 22
8-12 ศิลปะกบั สงั คมไทย
จากตัวอย่างข้างต้น กวีเล่นคำ�เป็นกระสวนหลายคู่ เช่น แกว่งตาวฟันฉฉาด-แกว่งดาบ
ฟาดฉฉัด ซ่งึ มีลักษณะการเรียงคำ�ใกลเ้ คยี งกนั คอื เรม่ิ ด้วยค�ำ ว่า “แกว่ง” ตามด้วยชือ่ อาวธุ (ตาว-ดาบ)
ลักษณะการใช้อาวุธ (ฟัน-ฟาด) และกิริยาอาการของการใช้อาวุธ (ฉฉาด-ฉฉัด) เป็นต้น ทำ�ให้ผู้อ่าน
ผฟู้ งั เกดิ ความเพลดิ เพลนิ จากการใชค้ �ำ อนั ไพเราะของกวี ทงั้ ยงั้ สามารถมองเหน็ ภาพการสรู้ บอยา่ งดเุ ดอื ด
ไดอ้ ย่างชดั เจนอีกดว้ ย
ในลลิ ติ ตะเลงพา่ ยกป็ รากฏการเลน่ ค�ำ เปน็ กระสวนทไ่ี พเราะมากหลายตอนดว้ ยกนั เชน่ ในบท
ชมกองทพั ชา้ งของสมเดจ็ พระมหาอุปราชา กวีทรงให้ภาพกองทัพทเ่ี ขม้ แขง็ นั้นไว้วา่
ล้วนคชลกั ษณค์ ชเลศิ ลว้ นคชเพริศคชแพร้ว ล้วนคชแกลว้ คชกลา้ ลว้ นคชกล้าบ่มมนั
(ลลิ ติ ตะเลงพ่าย. 2538: 15)
กวเี ลน่ ค�ำ เปน็ กระสวน โดยเรม่ิ ตน้ ดว้ ยค�ำ วา่ “ลว้ นคช” ตามดว้ ยลกั ษณะของชา้ ง ตามดว้ ย
ค�ำ วา่ “คช” อกี ครง้ั หนงึ่ และตามดว้ ยลกั ษณะของชา้ งอกี ครง้ั หนงึ่ โดยลกั ษณะของชา้ งในค�ำ ที่ 3 และค�ำ ที่
5 มีเสยี งพยัญชนะเดยี วกนั และมีความหมายใกล้เคียงกนั (ลกั ษณ์-เลศิ เพริศ-แพร้ว แกลว้ -กล้า) ทำ�ให้
คำ�ประพนั ธ์ขา้ งตน้ นม้ี ีความไพเราะสวยงามเปน็ อย่างมาก
2.1.5 การเล่นกลบท เป็นการกำ�หนดรูปแบบการเล่นเสียงของคำ�ในบทประพันธ์อย่างมี
กฎเกณฑ์ตายตัว ซึ่งเป็นส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้คำ�ประพันธ์นั้นมีความไพเราะข้ึน ในขณะเดียวกันก็เป็นการ
แสดงออกถงึ ความสามารถของกวนี กั เขยี นในการเลอื กสรรถอ้ ยค�ำ ทเ่ี หมาะสมและตรงกบั ลกั ษณะของกลบท
แตล่ ะประเภทมาใชเ้ พอ่ื ให้เกดิ ความไพเราะ โดยการเลน่ กลบทปรากฏพบในวรรณกรรมหลายเรอื่ ง เชน่
ศริ ิวิบุลกติ ต์ เป็นวรรณกรรมที่ประพันธข์ ึ้นด้วยกลบททั้งส้ิน 86 ประเภท ทำ�ให้เป็น
วรรณกรรมท่ีมีความไพเราะสวยงามมาก ท้ังยังเป็นตำ�ราทางการประพันธ์ท่ีกวีสมัยหลังได้นำ�ลักษณะ
กลบทในเร่ืองไปใช้ในงานวรรณกรรมของตน ตวั อย่างกลบทท่ีส�ำ คัญในเรอื่ ง เชน่
ในครัง้ นนั้ เวไชยันต์กห็ วน่ั กห็ วาด สทา้ นอาสนเ์ ทวฤทธ์สิ ถติ ย์สถิน
ปาริกะชาต์ิฉาดฉดั ระบดั ระบิน พิภพอินทร์ก้องดังกะทั่งกะเทือน
เสียงโครมโครมคร้นื ครันสนัน่ สนัด ด่ังทิพรัตน์อมรินทร์จะหมนิ่ จะเหมอื น
จะพรากแยกแตกพลัดกระจัดกระเจือน ดงั ดาวเดือนลอยลัดจะจัดจะจาย
(ศริ ิวิบลุ กติ ต์ิ. 2519: 171)
กลบทข้างต้นนี้มีชื่อว่าสบัดสบิ้ง ซ่ึงมีลักษณะสำ�คัญตรงท่ีบริเวณตอนปลายของกลอน
แตล่ ะบาทจะมกี ารใชค้ �ำ เสยี งสนั้ สลบั กบั ค�ำ เสยี งยาว เชน่ กห็ วน่ั กห็ วาด สถติ ยส์ ถนิ ระบดั ระบนิ กะทง่ั กะเทอื น
เป็นต้น ทำ�ให้เกิดจังหวะในการอ่านที่มีความไพเราะมากข้ึน เช่นเดียวกับอีกกลบทหน่ึงที่ช่วยเพิ่ม
ความไพเราะใหแ้ ก่บทประพนั ธไ์ ดด้ ีเชน่ กนั ดังทก่ี ล่าววา่