Page 32 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 32
8-22 ศิลปะกบั สังคมไทย
เลย้ี งดบู ตุ ร ในเรอื่ งสน้ั เรอ่ื งมทั รี ของศรดี าวเรอื ง ทง้ั นี้ ประเดน็ ปญั หาทน่ี กั เขยี นใชเ้ ปน็ แนวคดิ ในการสรา้ ง
วรรณกรรมขนึ้ มานั้นกล็ ว้ นแตเ่ ป็นปัญหาทเี่ กิดข้ึนในสังคมทัง้ สิ้น
ทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ นเี้ ปน็ เพยี งแนวคดิ สว่ นหนงึ่ ทปี่ รากฏในวรรณกรรมไทยนบั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั
ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า สภาพสังคมมีอิทธิพลต่อแนวคิดของวรรณกรรม เพราะกวี
นักเขียนวรรณกรรมในฐานะสมาชิกของสังคมผลิตวรรณกรรมข้ึนมาภายใต้กรอบของสังคมและค่านิยม
ในยุคสมัยน้ันๆ ทำ�ให้เห็นได้ว่า เมื่อสังคมมีแนวความคิดอย่างไร วรรณกรรมก็จะสะท้อนแนวความคิด
เชน่ นนั้ ออกมาดว้ ย
1.2 อิทธิพลของสังคมท่ีมีต่อเนื้อหาของวรรณกรรม นอกจากสภาพสังคมจะมีอิทธิพลต่อแนวคิด
ของวรรณกรรมแล้ว ยังมีอิทธิพลต่อการสร้างเน้ือหาของวรรณกรรมอีกด้วย ดังท่ีกล่าวไว้ในข้างต้น
แลว้ วา่ วรรณกรรมในสมยั สโุ ขทยั มแี นวคดิ เกยี่ วกบั ผปู้ กครองทเ่ี ปน็ ธรรมราชา กวนี กั เขยี นจงึ ตอ้ งสรา้ งเนอื้ หา
ของวรรณกรรมเพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวคดิ ดงั กลา่ ว ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากภาพของพอ่ ขนุ รามค�ำ แหงมหาราชท่ี
ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 ว่าทรงเป็นผู้ปกครองประเทศที่เปี่ยมไปด้วยพระเมตตาและคุณธรรมมาก
เพียงใด หรือการสรา้ งเนอ้ื หาทแี่ สดงให้เห็นวา่ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเปน็ นักปกครองทมี่ ากดว้ ย
อ�ำ นาจบารมี ทรงมชี าตกิ �ำ เนดิ ทสี่ งู สง่ และทรงมพี ระปรชี าสามารถในการท�ำ สงคราม เพอื่ น�ำ เสนอแนวคดิ ทว่ี า่
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ องค์สมมตเิ ทพในโคลงยวนพา่ ย ซึง่ เปน็ วรรณคดีสมยั อยธุ ยาตอนต้น
นอกจากการสร้างเนื้อหาให้สอดคล้องกับแนวคิดสำ�คัญของวรรณกรรมในแต่ละยุคสมัยแล้ว
ค่านิยมของคนในสังคมยังเป็นส่วนสำ�คัญที่มีผลต่อเน้ือหาของวรรณกรรมไทย ดังจะเห็นได้ว่า เน่ืองจาก
คนในสังคมไทยนิยมอ่านหรือฟังวรรณกรรมเพื่อความเพลิดเพลิน หรือชมละครท่ีนำ�มาจากวรรณกรรม
เพือ่ ความบนั เทงิ ดงั นน้ั จึงปรากฏวรรณกรรมทมี่ เี นอ้ื หาดงั กล่าวเปน็ จ�ำ นวนมากในสงั คมไทย โดยเฉพาะ
อยา่ งยงิ่ วรรณกรรมประเภทนทิ านรอ้ ยกรองและบทละคร นทิ านรอ้ ยกรองทส่ี �ำ คญั ของไทย เชน่ ลลิ ติ พระลอ
เสือโคคำ�ฉันท์ สมุทรโฆษคำ�ฉันท์ และอนิรุทธคำ�ฉันท์ ในสมัยอยุธยา ลิลิตเพชรมงกุฎ ในสมัยธนบุรี
พระอภยั มณี ลกั ษณวงศ์ สรรพสทิ ธคิ์ �ำ ฉนั ท์ เสภาเรอื่ งขนุ ชา้ งขนุ แผน ลลิ ติ นทิ ราชาครติ สามกก๊ ราชาธริ าช
ในสมัยรตั นโกสินทร์ เปน็ ตน้ ส่วนบทละครที่สำ�คญั นน้ั เช่น รามเกียรต์ิ อเิ หนา อุณรุท สงั ข์ทอง สงั ขศ์ ิลป์
ชยั เงาะปา่ ศกนุ ตลา และสาวติ รี เป็นตน้
เมอ่ื พจิ ารณาเนอื้ หาของวรรณกรรมไทยกจ็ ะพบวา่ เนอื้ หาสว่ นใหญม่ กั น�ำ เสนอเรอ่ื งเกย่ี วกบั ความ
รักเปน็ หลกั ท้งั ความรักแบบสขุ นาฏกรรม ในเรอื่ งสมุทรโฆษค�ำ ฉนั ท์ อเิ หนา หรอื สังขท์ อง และความรัก
แบบโศกนาฏกรรม ในเรื่องลลิ ิตพระลอ เงาะป่า หรือมัทนะพาธา แม้กระทัง่ ละครโทรทัศนใ์ นปัจจุบนั ก็ยัง
นำ�เสนอเรื่องราวเกี่ยวกับความรักเป็นหลักเช่นกัน ซึ่งล้วนแล้วแต่แสดงให้เห็นว่าคนไทยนิยมวรรณกรรม
ทีม่ เี นอ้ื หาเกี่ยวกบั ความรักเป็นอย่างมาก
นอกจากวรรณกรรมท่ีมีเน้ือหาเก่ียวกับความรักแล้ว คนไทยยังนิยมวรรณกรรมท่ีมีเน้ือหา
เกี่ยวกับการผจญภัยของตัวละคร ซ่ึงมีลักษณะเป็นจินตนิยาย เนื่องจากมีเน้ือหาที่สนุกสนานชวนให้
ติดตาม ทำ�ให้เกิดการผลิตวรรณกรรมแนวจักรๆ วงศ์ๆ ข้ึนอย่างแพร่หลายในสมัยรัตนโกสินทร์ ดังเช่น
วรรณกรรมวัดเกาะที่เป็นท่ีนิยมกันมากในช่วงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของสังคมทีม่ ตี อ่ การก�ำ หนดเน้อื หาของวรรณกรรมได้เปน็ อยา่ งดี