Page 37 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 37
วรรณกรรมกับสงั คมไทย 8-27
วรรณกรรมเร่ืองหน่ึงท่ีได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าประพันธ์ขึ้นเพื่อให้คนในสังคมเกิด
ความเพลิดเพลินใจ คือ บทละครพระราชนิพนธ์เร่ืองอิเหนา ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ทั้งน้ีพระองค์ได้ทรงปรับปรุงวรรณกรรมเร่ืองอิเหนาท่ีเคยประพันธ์ไว้ในรัชกาลสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลกมหาราชใหม่ ให้มีความไพเราะของกระบวนกลอน การร่ายรำ� ตลอดจนเพลงหน้าพาทย์เพ่ือให้
สามารถน�ำ ไปใชเ้ ล่นละครไดด้ ีขน้ึ ท้ังเสยี งของบทร้อง ท่ารา่ ยรำ�และดนตรปี ระกอบ ดังที่มกี ารกล่าวไว้ใน
ตอนทา้ ยของเรอ่ื งว่า
อนั อิเหนาเอามาท�ำ เปน็ คำ�ร้อง สำ�หรบั งานการฉลองกองกศุ ล
ครั้นกรงุ เกา่ เจา้ สตรีเธอนิพนธ ์ แต่เรอื่ งต้นตกหายพลัดพรายไป
หากพระองค์ทรงพภิ พปรารภเลน่ ใหร้ �ำ เต้นเลน่ ละครคิดกลอนใหม่
เตมิ แตม้ ต่อตดิ ประดษิ ฐไ์ ว ้ บำ�รุงใจไพรฟ่ า้ ข้าแผ่นดิน
(อเิ หนา. 2543: 1149)
จากบทประพันธ์ข้างต้น ทำ�ให้เห็นว่าพระราชนิพนธ์เร่ืองอิเหนาน้ี องค์กวีผู้พระราชนิพนธ์ ทรง
ประพันธ์ขึ้นเพื่อ “บำ�รุงใจไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน” ด้วยการ “ให้รำ�เต้นเล่นละครคิดกลอนใหม่” ให้มีความ
สวยงามและสนุกสนานมากย่ิงข้ึน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าองค์กวีทรงมุ่งหวังให้พระราชนิพนธ์เรื่องน้ีให้ความ
สนุกเพลดิ เพลนิ และจรรโลงจติ ใจของผอู้ า่ นผฟู้ ัง
กวีนิพนธ์ในปัจจุบัน อย่างเช่นกวีนิพนธ์ของอังคาร กัลยาณพงศ์ ก็แสดงพันธกิจหน้าที่ของ
วรรณกรรมในการชว่ ยจรรโลงใจใหแ้ ก่ผู้อ่านดังปรากฏในเร่ืองกวนี พิ นธ์ “กาพยก์ ลอน” ตอนหนง่ึ ว่า
กาพย์กลอนอ่อนหวานปานนาํ้ ผ้ึง เจา้ ร้ซู ง้ึ ว่าคอื อะไรไหม
ฤๅตามดื หมู ดิ ไรจ้ ิตรใ์ จ ไมร่ รู้ สทิพยฝ์ นั วรรณคดฯี
เพชรพลอยแหง่ ถ้อยค�ำ ทิพย์ จบิ ดืม่ ดุจอำ�มฤตวเิ ศษศรี
พร้อมแง่ญาณปัญญาบารมี ล�ำ นำ�ดนตรเี พริศพรงิ้ พรายฯ
(กวีนพิ นธ.์ 2513: 100)
องั คาร กลั ยาณพงศ์ กลา่ วเปรยี บวา่ วรรณกรรมมคี วามหอมหวานเสมอื นกบั นาํ้ ผง้ึ ทมี่ เี พยี ง ผมู้ ดื บอด
ทางปัญญาเท่าน้ันที่ไม่สามารถสัมผัสรับรู้ได้ ถ้อยคำ�ท่ีเรียงร้อยเป็นวรรณคดีน้ัน ทำ�ให้วรรณคดีไม่ต่าง
จาก “เพชรพลอย” อันประเสริฐท่ีทรงคุณค่าย่ิง การได้สัมผัสกับวรรณกรรมจึงเทียบได้กับการ “จิบดื่ม
ดจุ อำ�มฤตวเิ ศษศร”ี ใหท้ ั้งสุนทรยี ะแก่ผูอ้ า่ นผู้ฟงั ทงั้ ยังให้ “แง่ญาณปัญญาบารม”ี แกผ่ ้อู ่านผู้ฟังอกี ด้วย
ซง่ึ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ องั คาร กลั ยาณพงศม์ ที รรศนะเกย่ี วกบั วรรณกรรมทด่ี วี า่ นอกจากจะเปน็ สง่ิ จรรโลงจติ ใจ
ของผอู้ า่ นผฟู้ งั ใหร้ บั รถู้ งึ ความสนุ ทรยี ะแลว้ วรรณกรรมยงั จะตอ้ งมคี ณุ คา่ ในฐานะทเี่ ปน็ สงิ่ ประเทอื งปญั ญา
ให้แก่ผูอ้ ่านผูฟ้ ังอกี ด้วย