Page 40 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 40
8-30 ศลิ ปะกับสงั คมไทย
นอกจากวรรณกรรมที่มีเน้ือหาสอนผู้หญิงแล้ว ยังมีวรรณกรรมจำ�นวนหน่ึงที่มีเนื้อหาเป็นการให้
ขอ้ คิดและหลักปฏบิ ตั ิท่ีดีแกผ่ ู้ชาย ซง่ึ สามารถนำ�มาประยกุ ต์ปรบั ใชไ้ ด้ในชีวติ ประจ�ำ วัน เช่น สอนใหร้ ู้จัก
ใช้ค�ำ พดู ให้ดี ดังทีก่ ล่าววา่
อันโซต่ รวนพรวนพันมนั ไมอ่ ยู่ คงหนสี ้ซู ่อนหมนุ ในฝุ่นผง
แม้นผกู ใจไว้ดว้ ยปากไมจ่ ากองค ์ อุตส่าหท์ รงทราบแบบท่ีแยบคาย
อนั ออ้ ยตาลหวานลิน้ แลว้ สนิ้ ซาก แตล่ มปากหวานหไู ม่ร้หู าย
แม้นเจ็บอ่ืนหมืน่ แสนจะแคลนคลาย เจ็บจนตายนัน้ เพราะเหน็บให้เจบ็ ใจ
จะรกั ชงั ทัง้ สนิ้ เพราะล้ินพลอด เปน็ อยา่ งยอดแลว้ พระองค์อย่าสงสัย
อนั ชา่ งปากยากที่จะมีใคร เขาชอบใชช้ า่ งมอื ออกออ้ื อึง
(สวัสดริ กั ษา. 2518: 544)
แม้ว่าสวัสดิรักษาจะเป็นวรรณกรรมที่ให้หลักปฏิบัติท่ีดีของผู้ชาย โดยเฉพาะผู้ที่มีฐานะเป็น
ผบู้ ังคับบญั ชาหรอื ผูท้ ่มี บี ริวาร แตจ่ ากค�ำ ประพันธช์ า้ งตน้ นี้ ไม่ว่าจะเป็นคนเพศใดกส็ ามารถน�ำ ไปปรบั ใช้
ในชีวติ ประจ�ำ วนั ได้ เพราะเปน็ การสอนเกี่ยวกับเรอ่ื งของการพูด โดยจากบทประพนั ธ์ข้างตน้ กวแี สดงให้
เหน็ ว่าการผกู ใจคนอ่นื ดว้ ยค�ำ พูดมอี านุภาพมากกว่าการผูกมดั ด้วยโซ่ตรวนหรอื พันธนาการตา่ งๆ เพราะ
“ลมปาก” นนั้ “หวานหูไมร่ ู้หาย” คนทมี่ ีคำ�พูดทีด่ จี ึงสามารถครองใจบคุ คลอ่ืนได้ จากตัวอย่างน้ี หากคน
ในสังคมนำ�ไปปฏิบัติใช้ สังคมก็จะมีคำ�พูดท่ีรื่นหู ไม่ทะเลาะทำ�ลายซึ่งกันและกัน อันจะทำ�ให้สังคมมี
ความสงบปรกตสิ ุข
วรรณกรรมไทยบางเร่ืองนำ�เสนอเรื่องราวของกลุ่มคนท่ีไม่ได้อยู่ในกระแสวัฒนธรรมหลัก เช่น
ชนกลุ่มน้อย เพ่ือให้เกิดความเข้าใจระหว่างกันดียิ่งขึ้น เพราะคนท่ีอยู่กระแสวัฒนธรรมหลักอาจดูถูก
เหยียดหยามหรือไม่เข้าใจคนท่ีอยู่ในกระแสวัฒนธรรมรอง ดังเช่นที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า-
เจ้าอย่หู วั ทรงมีพระราชปรารภเกีย่ วกบั มลู เหตทุ ่ที รงพระราชนิพนธบ์ ทละครเร่ืองเงาะปา่ ว่า
จบ บทประดิษฐแ์ กล้ง กล่าวกลอน (เงาะปา่ . 2542: 144)
เรือ่ ง หลากเล่นละคร ก็ได้
เงาะ ก็อยเกิดในดอน แดนพทั ลุงแฮ
ปา่ เปน็ เรอื นยากไร้ ยอ่ มรรู้ กั เปน็
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวน่าจะมีพระราชประสงค์ให้คนในสังคมเมืองเปิดใจ
ยอมรบั ชาวปา่ ชาวเขาในฐานะทเ่ี ปน็ พลเมอื งในสงั คมไทยเชน่ กนั แมว้ า่ ชาวปา่ ชาวเขาจะไมไ่ ดม้ วี ฒั นธรรม
ความเจริญก้าวหน้าเหมือนคนในสังคมเมือง กระน้ัน พวกเขาก็มีชีวิตจิตใจ มีความรู้สึก “รัก” และเป็น
มนุษย์คนหนึ่งที่มีศักด์ิศรีความเป็นคนเช่นเดียวกับคนในสังคมเมือง นับเป็นพระราชดำ�ริท่ีดีในการสร้าง
ความสามคั คีใหเ้ กดิ ข้ึนแกค่ นในชาติ