Page 45 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 45
วรรณกรรมกบั สังคมไทย 8-35
จะเหน็ ไดว้ า่ วรรณกรรมท�ำ หนา้ ทส่ี �ำ คญั ในการบนั ทกึ ภาพอาหารการกนิ ของคนไทยในสมยั ตา่ งๆ
ท้งั อาหารในราชส�ำ นักและอาหารของชาวบ้านไดอ้ ยา่ งมีศลิ ปะ คือ แสดงผ่านภาษาทส่ี วยงาม แฝงไปด้วย
ความรูส้ ึกนึกคิด อารมณ์ และจนิ ตนาการของกวีผู้ประพนั ธ์
2. การแต่งกาย
วรรณกรรมไทยบันทึกเรื่องราวที่แสดงให้เห็นลักษณะการแต่งกายของคนไทยในหลากหลาย
รปู แบบ ทง้ั การแตง่ กายในราชส�ำ นกั และการแตง่ กายของชาวบา้ น ส�ำ หรบั การแตง่ กายในราชส�ำ นกั ปรากฏ
ในวรรณกรรมหลายเร่ือง เช่น ในเร่ืองสี่แผ่นดินกล่าวถึงการแต่งกายของสตรีในราชสำ�นักสมัยพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั ไวว้ ่า
แมห่ ยบิ ผ้านุ่งผ้าหม่ ออกมาวางด้วยกันอย่างละคแู่ ลว้ กอ็ ธบิ ายวา่
“น่ีสำ�หรับวันจันทร์ นุ่งเหลืองอ่อนห่มนํ้าเงินอ่อน หรือจะห่มบานเย็นก็ได้ แต่ถ้า
วันจันทร์จะนงุ่ สนี ้ี น้ําเงนิ นกพริ าบต้องหม่ จ�ำ ปาแดง” แล้วแม่ก็หยิบผา้ ห่มสีดอกจ�ำ ปาแกๆ่ ออกวาง
ทบั บนผ้าลายสนี า้ํ เงนิ เหลอื บที่วางไว้
“วันอังคาร” แม่อธิบายต่อ “วนั อังคารนงุ่ สีปนู หรอื มว่ งเมด็ มะปรางแล้วห่มโศก หรอื
ถ้านุ่งโศกหรือเขียวอ่อน ต้องห่มม่วงอ่อน วันพุธนุ่งสีถ่ัวก็ได้เหล็กก็ได้แล้วห่มจำ�ปา วันพฤหัสนุ่ง
เขียวใบไม้ห่มแดงเลือดนก หรือนุ่งแสดห่มเขียวอ่อน วันศุกร์นุ่งนํ้าเงินแก่ห่มเหลือง วันเสาร์นุ่ง
เม็ดมะปรางห่มโศก หรือนุ่งผ้าลายพ้ืนม่วงก็ห่มโศกเหมือนกัน...เวลาไว้ทุกข์ก็นุ่งผ้าลายพ้ืนม่วง
นเี่ หมอื นกนั แตต่ อ้ งหม่ สนี วล วนั อาทติ ยจ์ ะแตง่ เหมอื นวนั พฤหสั กไ็ ด้ คอื นงุ่ เขยี วหม่ แดงหรอื ไมย่ งั งน้ั
ก็นุ่งผ้าลายพ้ืนสีล้ินจี่หรือสีเลือดหมูแล้วห่มโศก จำ�ไว้นะพลอยอย่าไปแต่งตัวเร่อร่าเป็นคนบ้านนอก
เด๋ียวเขาจะหาว่าแมเ่ ปน็ ชาววังแลว้ ไม่สอน”
(สี่แผ่นดนิ เล่ม 1. 2548: 68-69)
จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ สตรใี นราชส�ำ นกั จะมธี รรมเนยี มในการแตง่ กายดว้ ยผา้ สตี า่ งๆ
ตามวัน ซึ่งเป็นคติความเช่ือของคนในสมัยก่อน เช่น “วันจันทร์นุ่งเหลืองอ่อนห่มนํ้าเงินอ่อน” เป็นต้น
นอกจากนี้ยังเป็นการแสดงให้เห็นว่าคนไทยในสมัยก่อนมีความประณีตในการแต่งกายและมีการนุ่งและ
ห่มผ้าด้วยสีท่ีตัดกัน ทำ�ให้เกิดความสวยงามโดดเด่น ทั้งยังเป็นการแสดงให้เห็นว่า คนไทยมีความ
ละเอยี ดในเรื่องของสี ดังปรากฏการเรยี กชือ่ สีบางสีทปี่ จั จบุ ันไม่คุ้นเคยกนั มากนกั เช่น สนี ้ําเงินนกพิราบ
สดี อกจำ�ปา สปี ูน สโี ศกและสีเหลก็ เป็นตน้
นอกจากการกล่าวถึงการแต่งกายของสตรีในราชสำ�นักแล้ว ในวรรณกรรมบางเร่ืองก็ยังแสดงให้
เหน็ ถงึ ความนยิ มในการเสรมิ ความงามของสตรใี นราชส�ำ นกั เชน่ การกลา่ วถงึ การเสรมิ ความงามของสตรี
ในราชส�ำ นกั สมยั อยธุ ยาตอนปลายทป่ี รากฏในกาพยห์ อ่ โคลงนริ าศธารโศก ของเจา้ ฟา้ ธรรมธเิ บศ หลายตอน
เช่นท่กี ลา่ วว่า