Page 43 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 43

วรรณกรรมกับสงั คมไทย 8-33

เร่อื งท่ี 8.2.1
วิถชี ีวิตไทยในวรรณกรรม

       เนอื่ งจากวรรณกรรมไทยท�ำ หนา้ ทเี่ กบ็ บนั ทกึ ภาพของสงั คมในสมยั ทป่ี ระพนั ธว์ รรณกรรมนน้ั ไว้ จงึ
ท�ำ ใหผ้ อู้ า่ นในสมยั หลงั ไดเ้ รยี นรแู้ ละเขา้ ใจเรอ่ื งราวในยคุ สมยั ตา่ งๆ ไดช้ ดั เจนมากขนึ้ ซง่ึ นบั ไดว้ า่ เปน็ คณุ คา่
อนั ส�ำ คญั ยงิ่ ของวรรณกรรมไทยในฐานะเครอื่ งบนั ทกึ สภาพสงั คม และเนอื่ งดว้ ยวรรณกรรมไทยสะทอ้ นภาพ
วถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรมในหลากหลายแงม่ มุ ในทนี่ จี้ งึ ขอกลา่ วถงึ เฉพาะเรอื่ งของอาหารการกนิ การแตง่ กาย
ทอ่ี ยอู่ าศยั การรักษาโรค และการประกอบอาชพี ของคนไทยท่ีแสดงผา่ นวรรณกรรม ดังนี้

1. 	 อาหารการกนิ

       ในวรรณกรรมไดบ้ นั ทกึ เรอ่ื งราวทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ลกั ษณะอาหารการกนิ ของคนไทยในหลากหลาย
รปู แบบ ทง้ั อาหารในราชส�ำ นกั และอาหารของชาวบา้ น โดยวรรณกรรมทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ อาหารในราชส�ำ นกั
ไดช้ ดั เจนทส่ี ดุ เรอ่ื งหนงึ่ คอื กาพยเ์ หเ่ รอื หรอื กาพยเ์ หช่ มเครอื่ งคาวหวาน พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็
พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั

       ในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน องค์กวีผู้พระราชนิพนธ์ทรงจำ�แนกอาหารในราชสำ�นักออกเป็น
3 กลมุ่ คอื เครอื่ งคาว ผลไม้ และเครอ่ื งหวาน ซง่ึ องคก์ วไี ดท้ รงกลา่ วถงึ วตั ถดุ บิ และวธิ กี ารท�ำ อยา่ งครา่ วๆ
แตก่ แ็ สดงออกใหเ้ หน็ ถงึ ความเปน็ อาหารในราชสำ�นักทมี่ คี วามประณตี ในขน้ั ตอนการทำ�และการเลอื กสรร
วตั ถุดิบอย่างดี ดงั ท่ที รงกลา่ วว่า

	 	 ยำ�ใหญใ่ ส่สารพดั 	  	     วางจานจัดหลายเหลือตรา
รสดีด้วยนํ้าปลา	 	       	     ญี่ปุน่ ลา้ํ ยาํ้ ยวนใจ

                                                    (กาพย์เห่เรอื . 2553: 15)

       จากบทประพันธ์ข้างต้นจะเห็นได้ว่า แม้จะเป็นเพียงอาหารยำ�  แต่ก็ต้องนำ�มาใส่จานและ “จัด”
ใหส้ วยงามเพราะเป็นเคร่ืองทรง อีกท้งั ยังปรุงรสด้วย “น้ําปลาญป่ี ุน่ ” ซงึ่ เป็นเคร่อื งปรงุ พิเศษเฉพาะผู้ทม่ี ี
ฐานะเทา่ นนั้ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความหอมอนั “ยาํ้ ยวนใจ” เชน่ เดยี วกบั ผลไมเ้ สวยกจ็ ะตอ้ งมกี ารจดั แตง่ ใหส้ วยงาม
เช่นกัน ดงั ที่ทรงกลา่ วถงึ นอ้ ยหน่าเสวย ตอนหน่งึ ความว่า

	 	 นอ้ ยหน่าน�ำ เมลด็ ออก	 	  ปลอ้ นเปลือกปอกเปน็ อัศจรรย์
มอื ใครไหนจักทนั 	 	 	         เทียบเทียมทีฝ่ มี อื นาง

                                                    (กาพย์เหเ่ รือ. 2553: 17)
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48