Page 50 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 50
8-40 ศิลปะกบั สงั คมไทย
หากใช้ยาสมุนไพรรักษาอาการป่วยไข้ในเบ้ืองต้นแล้วยังไม่หายเจ็บป่วย คนไทยในสมัยก่อนก็
จะตามหมอ ทั้งหมอพื้นบ้านและหมอผีมาช่วยรักษา ดังปรากฏในเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนนางพิมป่วย
ความว่า
ครานน้ั ศรีประจนั ผู้แม่เฒา่ เหน็ ลูกสาวซบู เศรา้ ลงหนักหนา
กลดั กลุ้มคลุ้มคลัง่ ไม่ฟงั ยา มดหมอหามากห็ ลายคน
หมอจะเอาอะไรให้ทุกส่ิง ข้าไทชายหญิงว่งิ สบั สน
วนุ่ วายทั้งบ้านแกบานบน จนใจไมร่ ู้วา่ เป็นไร
ถามหมอลางหมอว่าไม่ตาย ลางหมอกว็ ่ารา้ ยเหน็ ไม่ได้
บ้างกว็ า่ ลมบาดทะยกั ชกั หัวใจ บา้ งกว็ ่าไข้เพอ่ื เลือดระดูท�ำ
บา้ งวา่ ผเี รอื นวงิ่ เข้าออก ศรีประจันตากลอกไม่เปน็ สํา่
มดหมอตะแกด่าวา่ ระยำ� มาน่ังกินพรํ่าพรํ่าสบายใจ
(ขนุ ชา้ งขุนแผน เลม่ 1. 2544: 192)
จากบทประพนั ธ์ข้างตน้ นางศรีประจันเมอ่ื เหน็ ว่านางพิมเจบ็ ป่วยจนดู “ซบู เศร้าลง” แมจ้ ะหายา
สมุนไพรมาปรุงเพื่อรักษาอาการป่วย แต่นางพิมกลับ “ไม่ฟังยา” หรือไม่หายป่วย นางศรีประจันจึงหา
“มดหมอ” มารักษา ทั้งยัง “บานบน” สิ่งศักดิ์สิทธ์ิเพ่ือขอให้นางพิมหายจากอาการป่วย นอกจากน้ียัง
จะเห็นได้ว่าหมอพื้นบ้านในสมัยก่อนต่างประเมินอาการโรคของนางพิมแตกต่างกันออกไป ท้ังน้ีอาจเป็น
เพราะหมอแตล่ ะคนตา่ งวนิ จิ ฉยั อาการของโรคตามทตี่ นถนดั และรกั ษาอาการตามทตี่ นไดร้ บั การถา่ ยทอดมา
และหมอบางคนยงั เชอื่ วา่ เปน็ อาการทเี่ กดิ จาก “ผเี รอื นวง่ิ เขา้ ออก” ซงึ่ วนิ จิ ฉยั โรคตามความเชอ่ื เรอื่ งผขี อง
คนไทย สดุ ท้ายแล้ว นางพิมกลบั หายจากอาการเจ็บไข้ดงั กลา่ วด้วยการแนะน�ำ จากขรัวตาจู วดั ป่าเลไลย
ใหท้ �ำ พธิ เี รยี กขวญั และเปลย่ี นชอื่ เปน็ วนั ทอง ซง่ึ กเ็ ปน็ การแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การรกั ษาโรคตามความเชอื่ เรอื่ ง
ขวญั ของคนไทยอีกเชน่ กัน
เมื่อครั้งทีส่ นุ ทรภู่เดนิ ทางไปเยี่ยมบดิ าท่ีบ้านกร่าํ เมืองแกลง กเ็ กดิ อาการเจ็บไขเ้ ชน่ เดยี วกนั แต่
เมื่อรักษาอาการในเบื้องต้นแล้วไม่หาย จึงต้องพ่ึงพาหมอผีให้ช่วยรักษาอาการเจ็บไข้ให้ ดังท่ีกล่าวไว้ใน
นริ าศเมืองแกลงวา่
ใหค้ นทรงลงผเี ม่ือพเ่ี จบ็ วา่ เพราะเก็บดอกไม้ทที่ า้ ยเขา
ไมง่ อนง้อขอสทู่ �ำ ดเู บา ทา่ นปูเ่ จา้ คมุ แคน้ จงึ แทนทด
ครั้นตาหมอขอโทษก็โปรดให ้ ท่ีจรงิ ใจพี่ก็ร้อู ยวู่ ่าปด
แต่ชาวบ้านท่านถือขา้ งท้าวมด จงึ สู้อดน่งิ ไว้ในอรุ า
(นิราศเมอื งแกลง. 2518: 107)