Page 55 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 55
วรรณกรรมกบั สังคมไทย 8-45
เดือนสิบเอ็ด การอาษยุชพิธี
เดือนสบิ สอง พระราชพธิ จี องเปรยี ง พระราชพิธกี ะติเกยา การพระราชกศุ ลฉลองไตรปี
พระราชพิธีลอยพระประทปี การพระราชกศุ ลแจกเบ้ียหวดั
จะเหน็ ไดว้ า่ การพระราชพธิ ที ปี่ รากฏในวรรณกรรมพระราชพธิ สี บิ สองเดอื นน้ี แทบจะไมป่ รากฏให้
เห็นแลว้ ในปัจจบุ นั เนื่องจากสังคมได้เปล่ียนแปลงรูปแบบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์
มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ในที่น้ีจึงขอยกตัวอย่างพระราชพิธีที่น่าสนใจ 3 พิธีมาแสดงเพื่อให้เข้าใจ
ลกั ษณะของพธิ ีการ ดังนี้
1) การพระราชกุศลเลี้ยงขนมเบื้อง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธิบาย
เกีย่ วกบั พระราชพธิ ีดังกล่าวว่า
การเลย้ี งขนมเบอื้ งน้ี ไมไ่ ดม้ สี วดมนตก์ อ่ นอยา่ งเชน่ พระราชพธิ อี นั ใด ก�ำ หนดเลยี้ งพระสงฆ์
ตงั้ แตเ่ จา้ พระ พระราชาคณะ 80 รปู ฉนั ในพระทีน่ ัง่ อมรนิ ทรวนิ ิจฉยั ขนมเบือ้ งนั้นเกณฑพ์ ระบรม-
วงศานวุ งศฝ์ า่ ยใน ทา้ วนาง เจา้ จอมมารดาเกา่ เถา้ แก่ พนกั งานดาดปะร�ำ ตงั้ เตาละเลง ขา้ งทอ้ งพระโรง
การซ่ึงกำ�หนดเล้ียงขนมน้ีนับเป็นอย่างตรุษคราวหน่ึง และเฉพาะต้องท่ีกุ้งมีมันมาก จึงเป็นเวลาที่
เลี้ยงขนมเบื้อง แต่การเล้ียงขนมเบ้ืองในแผ่นดินปัจจุบันน้ี ไม่ได้เสด็จออกมาหลายปีแล้ว ค่อนอยู่
ข้างจะเปน็ การมดื ๆ ๚
(พระราชพิธสี ิบสองเดือน. 2542: 54)
จากตัวอย่างข้างต้น ทำ�ให้เห็นได้ว่าการพระราชกุศลเลี้ยงขนมเบ้ืองเป็นพระราชพิธีท่ี
ไม่ได้มีความศักดสิ์ ิทธิ์มากนัก เพราะเป็นเพียงพระราชพธิ ที ใี่ ห้พระบรมวงศานุวงศฝ์ ่ายในทเ่ี ปน็ สตรีมาท�ำ
ขนมเบื้องเล้ียงกัน และจะเห็นได้ว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่โปรดพระราชพิธี
ดังกล่าวมากนัก จึง “ไม่ได้เสด็จออกมาหลายปีแล้ว” ทำ�ให้พระราชพิธี “ค่อนอยู่ข้างจะเป็นการมืด ๆ”
คอื ซบเซาลงไป
2) พระราชพิธเี คณฑะทงิ้ ขา่ ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธบิ ายเกี่ยวกับ
พระราชพิธีดังกลา่ ววา่
ครนั้ ถงึ เดอื นเจด็ นกั ขตั ฤกษพ์ ระราชพธิ เี คณฑะ ชาวพนกั งานกต็ กแตง่ สถานพระสยม-
ภูวนาถ อนั เป็นสถานหลวงใหส้ ะอาดสะอา้ น ชาวพระนครก็มาสันนบิ าตประชุมกนั คอยดูพราหมณ์
จะท้ิงข่างเสี่ยงทาย จึงพระครูเพทางคศาสตร์ราชไตรเพทกับหมู่พราหมณ์ก็ผูกพรตบูชาสมิทธิ
พระเปน็ เจา้ เปา่ สงั ขถ์ วายเสยี งแลว้ สงั เวยบวงสรวงขา่ งอนั กระท�ำ ดว้ ยเนาวโลหะใหญป่ ระมาณเทา่ ผล
แตงอุลดิ สมมติว่าพระสยม สามกำ�ลังบุรุษจึงจะชกั สายทงิ้ ข่างให้หมุนได้ อนั ข่างนนั้ เป็นท่เี สี่ยงทาย
ตามต�ำ รบั ไตรเพท ถา้ ขา่ งดงั เสยี งเสนาะหมนุ นอนวนั ไดบ้ าทนาฬกิ า มแี ตย่ ง่ิ มไิ ดห้ ยอ่ นกก็ ลา่ ววา่ เปน็
มงคลประเสริฐนัก...แม้นว่าข่างหมุนมิได้นอนวัน ท้ังสำ�เนียงก็ไม่เสนาะสน่ันอันตรายด้วยเหตุตา่ งๆ
พราหมณาจารยก์ ท็ �ำ นายวา่ บ้านเมอื งจะมสิ บายในขวบปีนนั้
(พระราชพธิ ีสบิ สองเดอื น. 2542: 360)