Page 56 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 56

8-46 ศิลปะกบั สังคมไทย
            พระราชพิธีเคณฑะทิ้งข่างเป็นพิธีการทางพราหมณ์ที่ใช้ในการเสี่ยงทายบ้านเมือง

จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงอธบิ ายขน้ั ตอนการประกอบพระราชพธิ ี
โดยละเอียด ต้ังแต่การจดั เตรียมสถานท่ี การผูกพรตบชู าพระเปน็ เจ้า การเปา่ สงั ข์ถวายพระเป็นเจา้ และ
การทงิ้ ขา่ งเสยี่ งทาย หากเสยี งขา่ งดงั เสนาะท�ำ นายวา่ บา้ นเมอื งจะดี แตห่ ากเสยี งขา่ งไมเ่ สนาะแลว้ ท�ำ นายวา่
บา้ นเมอื งจะไมด่ นี กั พระราชพธิ ดี งั กลา่ วสามารถท�ำ ใหเ้ หน็ ถงึ อทิ ธพิ ลของศาสนาพราหมณท์ เี่ ขา้ มามบี ทบาท
ตอ่ พระราชพธิ ตี ่างๆ ของไทยนับตั้งแต่อดตี มาไดเ้ ป็นอย่างดี

            3) 	การอาษยชุ พธิ ี พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงอธบิ ายเกยี่ วกบั พระราชพธิ ี
ดังกลา่ วว่า

               เดือน 11 การอาษยุชพิธี มีโหม่งครุ่มซ้ายขวาระบำ�  มโหระทึกอินทเภรีดนตรี
   เช้าทรงพระมหามงกุฎราชาปโภค กลางวันทรงพระสุพรรณมาลา เย็นทรงพระมาลาสุกหร่ําสะพัก
   ชมพู สมเด็จพระอคั รมเหสพี ระภรรยาทรงพระสวุ รรณมาลานงุ่ แพรลายทองทรงเส้ือ พระอัครชายา
   ทรงพระมาลาราบนงุ่ แพรดารากรทรงเสอ้ื ลกู เธอหลานเธอทรงศรเี ภทมวยทรงเสอื้ พระสนมใสส่ นอง
   เกล้าสะพกั สองบ่า สมรรถไชยเรอื ต้น ไกรสรมขุ เรอื สมเดจ็ พระอคั รมเหสี สมรรถไชย ไกรสรมขุ นน้ั
   เปน็ เรอื เสยี่ งทาย ถา้ สมรรถไชยแพไ้ ซร้ ขา้ วเหลอื เกลอื อมิ่ สขุ เกษมเปรมประชา ถา้ สมรรถไชยชนะ
   ไซร้ จะมยี คุ

               แต่พิธีแข่งเรืออย่างว่าไว้ในกฎมนเทียรบาล ได้ทำ�มาเพียงในช้ันกรุงเก่า มาถึงครั้ง
   กรงุ รัตนโกสินทร์หาไดท้ ำ�ไม่

                                                      (พระราชพิธีสิบสองเดอื น. 2542: 564)
            พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธิบายว่าการอาษยุชพิธีเป็นการทำ�นาย
บ้านเมืองด้วยการแข่งเรือ หากเรือไกรสรมุข ซ่ึงเป็นเรือตัวแทนของพระอัครมเหสีสามารถเอาชนะเรือ
สมรรถไชย ซง่ึ เปน็ เรอื ตวั แทนของพระมหากษตั รยิ ไ์ ด้ ท�ำ นายวา่ “ขา้ วเหลอื เกลอื อม่ิ สขุ เกษมเปรมประชา”
แต่หากเรือสมรรถไชยชนะก็ “จะมยี คุ ” หรอื เกดิ ความผดิ ปกตขิ ึ้นในบ้านเมือง อยา่ งไรก็ตาม พระราชพิธี
ดังกล่าวก็ได้ถูกยกเลิกไปในสมัยรัตนโกสนิ ทร์
            จากตัวอย่างที่นำ�มาแสดงข้างต้นนี้ ทำ�ให้เห็นได้ว่า วรรณกรรมทำ�หน้าที่ในการบันทึก
เก่ียวกับประเพณีและพระราชพิธีต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน จึงอาจกล่าวได้ว่า วรรณกรรมเป็นแหล่งข้อมูลท่ี
สำ�คัญยงิ่ ในการศกึ ษาประเพณแี ละพิธกี รรมของไทยในอดตี

2. 	 ประเพณีพิธีกรรมในวถิ ชี วี ติ

       วรรณกรรมท่ีแสดงให้เห็นถึงประเพณีพิธีกรรมในวิถีชีวิตของคนไทยในอดีตได้ชัดเจนที่สุด
เร่ืองหนึ่ง คือ เร่ืองขุนช้างขุนแผน ซ่ึงปรากฏการกล่าวถึงประเพณีพิธีกรรมท่ีน่าสนใจตั้งแต่เกิดจนตาย
ในท่ีนี้ จะกล่าวถงึ ประเพณีพิธีกรรมเกี่ยวกับการเกิด การแตง่ งาน และการตาย โดยสรปุ ดังนี้
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61