Page 56 - การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา
P. 56

13-46 การรณรงคแ์ ละผลติ งานโฆษณา
       การท่ีผู้น�ำเสนอจะสามารถควบคุมการน�ำเสนองาน สามารถกระตุ้นให้ผู้ฟังสนใจตลอดเวลาการ

น�ำเสนอได้มากน้อยเทา่ ใดขนึ้ อยกู่ บั การเตรยี มตวั การฝกึ ฝน และการฝึกซ้อมทด่ี ี
               ความสามารถในการควบคุมของผู้นำ� เสนอ 100%

                            มกี ารฝกึ ฝน	  มกี ารเตรยี มตัว
                            และการฝึก      การฝกึ ฝน
                            ซอ้ ม          และการฝึก
ไมม่ ีการ                                  ซ้อม

เตรยี มตวั การ มกี ารฝึกฝน
ฝึกฝน หรือ
การฝกึ ซอ้ ม
              การควบคมุ การน�ำเสนองาน

                   ภาพที่ 13.6 การควบคุมของผู้น�ำเสนอระหว่างการน�ำเสนองาน

ที่มา:	 Maureen Guirdham, 2002: 348.

       จากภาพท่ี 13.6 แสดงให้เหน็ วา่ หากผู้น�ำเสนอไม่มกี ารเตรยี มตัวการฝึกฝน หรอื การฝึกซ้อมที่ดี
ความสามารถในการควบคุมการนำ� เสนอจะอยู่ในระดบั ต่ํา แต่ถา้ ผูน้ ำ� เสนอมกี ารเตรียมตวั ทีด่ มี ีการฝกึ ฝน
และการฝึกซอ้ มจะทำ� ใหส้ ามารถควบคุมการน�ำเสนองานได้ในระดับทสี่ งู

       นอกจากผ้นู �ำเสนอจะตอ้ งมีการเตรียมตัว การฝึกฝน และการฝึกซ้อมท่ีดแี ลว้ ในการควบคุมการ
นำ� เสนองาน ผนู้ ำ� เสนอควรทจ่ี ะมคี วามสามารถในการอา่ นและทำ� ความเขา้ ใจภาษากาย (Body Language)
ของผู้ฟังด้วย เพราะค�ำพูดเป็นสิ่งที่เราใช้ติดต่อส่ือสารทั่วไปแต่ภาษากายมีผลโดยตรงต่อการแปลความ
หมายและความรู้สึกของผู้ฟังได้มากกว่า เน่ืองจากภาษากายเกิดขึ้นจากจิตใต้ส�ำนึกไม่อยู่ภายใต้อ�ำนาจ
ควบคมุ ของจติ ใจ ภาษากายจงึ เปน็ เครอ่ื งวดั และเปน็ สง่ิ บง่ บอกถงึ ความจรงิ ทปี่ รากฏใหเ้ หน็ ได้ รวมทงั้ การ
ติดต่อส่ือสารของคนเราส่วนใหญ่เป็นการแสดงออกด้วยภาษากายดังที่ อัลเบิร์ต เมห์ราเบียน (Albert
Mehrabian) นกั จติ วทิ ยาชาวอเมรกิ นั ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของการสอื่ สารดว้ ยภาษากายวา่ ในการแสดง
ความรู้สึกส่วนใหญเ่ ป็นการสือ่ สารด้วยภาษากายมากทีส่ ุด ดงั น้ี

       การส่ือสารด้วยภาษากาย		 	 55%
       การใช้นํ้าเสยี ง	 	 	 	 38%
       การส่อื สารดว้ ยค�ำพดู 	 	 	 7%
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61