Page 41 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 41
การประยุกต์กับงานม ัลติมีเดียในด้านก ารศึกษา 14-31
เรือ่ งที่ 14.2.1
การเรยี นร ู้และก ารฝกึ ทกั ษะในสถานการณ์ฉุกเฉิน
สถานการณฉ์ ุกเฉินในท ีน่ ีห้ มายถ ึง การเกิดภ ัยพ ิบัตทิ ั้งโดยธ รรมชาตแิ ละโดยม นุษย์ เช่น แผ่นด ินไหว อุทกภัย
วาตภัย เป็นต้น นโยบายของรัฐบาลชุดปัจจุบันที่แถลงต่อรัฐสภา ตลอดจนมติคณะรัฐมนตรีให้ความสำ�คัญกับการ
ฝึกซ้อมหรือการเตรียมความพร้อมไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะเกิดภัย และให้ทุกหน่วยงานได้จัดการฝึกซ้อมในพื้นที่ทั้ง
ทางบ ก และทางท ะเลที่เชื่อมป ระสานก ับการปฏิบัติก ารข องร ะดับก ระทรวงแ ละร ะดับช าติด้วย เช่น การฝึกก ารบริหาร
วิกฤตการณ์ระดับชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 (C-MEX 13) ระหว่างวันท ี่ 25-28 มิถุนายน ที่ผ่านมา ณ โรงแรมส ตาร์
จ.ระยอง โดยมีหน่วยงานที่เข้าร่วมการฝึก ทั้งทหาร พลเรือน รัฐวิสาหกิจ และเอกชน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1) เพื่อท ดสอบก ระบวนการวางแผนและทดสอบแ ผนของหน่วย 2) ทดสอบระบบบัญชาการเหตุการณ์ ก่อนเกิดเหตุ
ขณะเกิดเหตุ และห ลังเกิดเหตุ และ 3) ทดสอบกระบวนการร ะดมส รรพกำ�ลังของห น่วยง านในก รอบแผนผ นึกกำ�ลัง
และท รัพยากรเพื่อการป ้องกันประเทศและแ ผนป้องกันประเทศ
1. สถานการณ์ฉุกเฉิน
ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมหาศาล ทั้งชีวิตและทรัพย์สิน รัฐและประชาชนต้องใช้
ทรัพยากรจำ�นวนม ากเพื่อช ่วยเหลือ บูรณะ ปัจจุบันภัยท ี่เกิดข ึ้นในป ระเทศไทยมีอยู่หลายแบบส ร้างค วามเสียหายได้
เป็นอย่างมาก ได้แก่ วาตภัย อุทกภัย อัคคีภ ัยแ ละแ ผ่นด ินไหว
การศึกษาและวิจัยนี้มุ่งเน้นที่อัคคีภัย สถิติสถานการณ์อัคคีภัยของประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2532–2554
แสดงในภ าพท ี่ 14.27 ถึงแ ม้ว่าจ ำ�นวนค รั้งโดยร วมท ี่เกิดอ ัคคีภ ัยจ ะล ดน ้อยล ง รวมถ ึง จำ�นวนผ ู้ป ระสบเหตุแ ละจ ำ�นวน
ครัวเรือนน้อยลง แต่กลับมีผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บจำ�นวนเพิ่มขึ้นซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการเกิดเหตุอัคคีภัยใน
อาคารที่มีจ ำ�นวนเพิ่มขึ้น