Page 44 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 44

14-34 เทคโนโลยีม​ ัลติมีเดีย

            ตาราง​ที่ 14.1 ข้ันต​ อน​การฝ​ กึ ​ซอ้ มอ​ พยพข​ อง​กรม​โรงงานอ​ ุตสาหกรรม

ขั้นตอนท่ี                    รายละเอยี ด

 1 แจงให้กับพนักงานในหน่วยงานของตนให้ทราบถึงแผนการซ้อม
 2 ออกบันทึกประกาศให้ทุกคนทราบถึงกำ�หนดวันและเวลาในการซ้อมรวมถึงแผนการซ้อม
 3 สมมติเกิดควันไฟจากห้องพัสดุ
 4 คนร้อง ไฟไหม้ พร้อมกับวิ่งมาแจ้งฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง
 5 กดสัญญาณเตือนไฟไหม้ (fire siren)
 6 พนักงานต่อโทรศัพท์ โดยให้ทางเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย แจ้งสถานีดับไฟ (fire station)
 7 พนักงานต่อโทรศัพท์ ประกาศเสียงตามสายแจ้งเหตุสถานที่
 8 ทุกคนในโรงงานอพยพออกจากโรงงานไปรวมตัวกันที่จุดรวมตัวฉุกเฉิน
 9 รถดับเพลิงมาถึงจุดเกิดเหตุและต่อสายนํ้าดับเพลิง
10 พนักงานในโรงงานอยู่ประจำ�ที่ รอคำ�สั่งจากผู้บังคับบัญชาของตน
11 จับเวลาตั้งแต่เริ่มประกาศจนกระทั่งทักคนอพยพออกจากโรงงานหมด
12 ตรวจรายชื่อพนักงานในหน่วยงานของตน
13 แจ้งให้ทุกคนทราบว่าเหตุการณ์ได้สงบแล้วและสามารถกลับไปปฏิบัติงาน
14 โดยปกติพนักงานต่อโทรศัพท์ ประกาศเสียงตามสายขอบคุณทุกคน ออกบันทึกขอบคุณ
15 พนักงานที่ให้ความร่วมมือในการซ้อม จัดการประชุมคณะกรรมการ และสรุปผลการซ้อม

3. 	พฤติกรรมข​ องค​ นใน​ขณะ​เกิด​เหตุฉ​ กุ เฉนิ แ​ ละก​ าร​ฝกึ ​อบรมค​ วามป​ ลอดภยั ​ทาง​อัคคีภ​ ัย

       แม้ว่าอ​ าคาร​ใน​ทุกว​ ัน​นี้​จะ​มีก​ ารต​ ิดต​ ั้ง​ระบบ​ความป​ ลอดภัยจ​ าก​อัคคีภ​ ัย​ที่​เพียง​พอ แต่ย​ ังม​ ี​คนท​ ี่​ต้อง​เสียช​ ีวิต​
จาก​อัคคี​ภัย ปัญหา​คือ​ การ​วาง​ระบบ​ใน​ตำ�แหน่ง​ที่​ผิด​พลาดเกี่ยว​กับ​พฤติกรรม​ของ​ผู้​อยู่​อาศัย สังเกต​ว่า​ผู้​อยู่​อาศัย​
ส่วน​ใหญ่​มอง​ข้าม​เรื่อง​สัญญาณ​เตือน​เมื่อ​เกิด​ไฟ​ไหม้ ทั้ง​ใน​อาคาร​ที่​ตน​อาศัย หรืออาคาร​สาธารณะ​ขนาด​ใหญ่ เช่น
ห้าง ศูนย์พ​ ิพิธภัณฑ์ สนามบิน

       หากผ​ อู้​ ยูอ่​ าศัยไ​มไ​่ ดต​้ กใจข​ ณะเ​กดิ ไ​ฟไ​หมพ​้ วกเ​ขาจ​ ะท​ ำ�​อย่างไร และม​ องว​ ่าพ​ ฤตกิ รรมข​ องผ​ อู​้ ยอู่​ าศัยแ​ ตกต​ า่ ง​
กัน​ไปต​ ามอ​ งค์​ประกอบด​ ังนี้ 1) ลักษณะ​ของ​ผู้อ​ าศัย 2) ลักษณะข​ องต​ ัวอ​ าคาร และ 3) ลักษณะ​ของ​ไฟ​ไหม้

       รูป​แบบ​การ​ตัดสิน​ใจ​ของ​ผู้​อาศัย​คน​หนึ่ง​สามารถ​มี​อิทธิพล​บาง​ส่วน​ส่ง​ผล​กับ​ลอก​เลียน​แบบ​ของ​คน​อื่น ๆ
การ​ตัดสิน​ใจ​ของ​คน​เพียง​หนึ่ง​คน อาจ​ส่ง​ผล​ต่อ​บุคคล​อื่น ๆ ที่​อยู่​สถานการณ์​ด้วย​กัน​นั้น​และ​การ​มี​ผู้​ที่​มี​ทักษะ​
การต​ ัดสินใ​จท​ ีด่​ อี​ าจช​ ่วยค​ นอ​ ื่น ๆ ทีอ่​ ยูใ่​นส​ ถานการณเ์​ดียวกัน เมื่อม​ ผี​ ูท้​ ีต่​ ้องเ​ผชิญก​ ับเ​หตุการณฉ์​ ุกเฉินห​ รือเ​หตุการณ​์
ทีอ่​ ันตราย พฤติกรรมข​ องค​ นจ​ ะเ​หมือนทีใ่​ชค้​ ำ�​ว่า ฟรซี (freeze) สิ่งท​ ีเ่​กิดข​ ึ้นเ​นื่องจากร​ ะยะเ​วลาท​ ีถ่​ ูกบ​ ีบแ​ ละข​ าดค​ วามร​ ู​้
ความ​เข้าใจ​เกี่ยวก​ ับ​การตอบส​ นอง​การ​เอา​ตัวร​ อด​ในเ​หตุการณ์​ฉุกเฉิน ส่งผ​ ลใ​ห้เ​กิด​ความล​ ่าช้าใ​นก​ ารอ​ พยพ​ในข​ ณะท​ ี​่
อันตรายเ​พิ่มม​ าก​ขึ้น

       จากร​ ายงานก​ าร​สัมภาษณ์​ผู้​รอดช​ ีวิต​ทั้งหมดส​ อดคล้องก​ ับ​รายงานก​ ่อน​นี้ ที่​ว่าใ​นภ​ ัย​พิบัติ​การ​ตอบ​สนองข​ อง​
คน​ทั้ง​อยู่​เป็นกล​ ุ่ม​และผ​ ู้ท​ ี่​คนเ​ดียว สามารถแ​ บ่ง​พฤติกรรม​ออก​เป็น​ 3 ​กลุ่มด​ ้วยก​ ัน

       1) 	กลุ่มแ​ รก 10-15% จะม​ ี​พฤติกรรม​ค่อนข​ ้างส​ งบ สามารถร​ วบรวมค​ วาม​คิด​ได้​อย่างร​ วดเร็วส​ ามารถเ​ข้าใจ​
สถานการณ์​ได้อ​ ย่างร​ วดเร็วแ​ ละ​สามารถ​ประเมินส​ ถานการณ์แ​ ละจ​ ัดการส​ ถานการณ์​ได้ด​ ี
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49