Page 54 - การศึกษาชีวิตครอบครัวและชุมชน
P. 54
12-42 การศกึ ษาชวี ติ ครอบครวั และชุมชน
2.2 การสร้างแนวทางการพัฒนา (influence: I) เป็นข้ันตอนการหาวิธีการและเสนอทางเลือก
ในการพฒั นาตามทไี่ ดส้ ร้างภาพพงึ ประสงค์ หรือที่ไดช้ ่วยกันกำ� หนดวิสัยทศั น์ (A2) ในขน้ั ตอนนี้ ผรู้ ว่ ม
ประชุมจะต้องช่วยกันหามาตรการ วิธีการ และค้นหาเหตุผลเพ่ือก�ำหนดทางเลือกในการพัฒนา ก�ำหนด
เป้าหมาย ก�ำหนดกิจกรรม และจัดล�ำดับความสำ� คัญของกจิ กรรม/โครงการ โดยแบ่งการดำ� เนนิ งานเปน็
2 ช่วง คือ
I1 เปน็ การคดิ เกยี่ วกบั กจิ กรรม/โครงการทจ่ี ะทำ� ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ามภาพพงึ ประสงค์
I2 เปน็ การจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของกจิ กรรม/โครงการ โดยพจิ ารณาจาก (1) กจิ กรรมหรอื
โครงการที่หมู่บ้าน ชุมชน ท้องถิ่นสามารถท�ำเองได้เลย (2) กิจกรรมหรือโครงการที่บางส่วนต้องการ
ความร่วมมือหรือการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือหน่วยงานที่ร่วมท�ำงานสนับสนุนอยู่
และ (3) กิจกรรมท่ีหมู่บ้าน/ชุมชน/ต�ำบล ไม่สามารถด�ำเนินการได้เอง ต้องขอความร่วมมือด�ำเนินงาน
จากแหล่งอื่นท้ังภาครฐั และเอกชน
2.3 การสร้างแนวทางปฏิบัติ (control: C) เป็นขั้นตอนการยอมรับและท�ำงานร่วมกัน โดยน�ำ
โครงการหรือกจิ กรรมต่างๆ มาส่กู ารปฏิบัตจิ รงิ และจดั กลุม่ ผ้ดู �ำเนนิ งานซ่ึงจะรับผดิ ชอบโครงการรว่ มกนั
ขน้ั ตอนการสรา้ งแนวทางปฏิบตั ิ ประกอบดว้ ย
C1 การแบง่ ความรับผิดชอบ
C2 การตกลงในรายละเอยี ดของการด�ำเนินงานและการจัดท�ำแผนปฏบิ ัติ
ผลลัพธ์ท่ีได้จากขั้นตอนน้ี คือ (1) รายชื่อกิจกรรมหรือโครงการท่ีชุมชนด�ำเนินการได้เอง
ภายใตค้ วามรับผิดชอบร่วมกนั ในลกั ษณะแผนปฏบิ ตั กิ ารของหมบู่ ้าน/ชุมชน (2) กิจกรรมหรอื โครงการที่
ชุมชนเสนอขอรับการส่งเสริมสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง
หรอื สนบั สนนุ ชมุ ชน และ (3) รายชอื่ กจิ กรรมหรอื โครงการทชี่ าวบา้ นตอ้ งแสวงหาทรพั ยากร และประสาน
ความรว่ มมือจากภาคีความร่วมมอื ต่างๆ ท้งั ภาครัฐหรอื องค์กรพฒั นาเอกชน
3. ก ารใช้กระบวนการประชาพิจัย (people research) หรือ ประชาพิจัยและพัฒนา (people
research and development: PR&D)
ค�ำว่า ประชาพิจัย หรือ ประชาพิจัยและพัฒนา เป็นค�ำท่ีมูลนิธิหมู่บ้านคิดข้ึนเพื่อใช้เรียก
กระบวนการ วิธีการ หรือเครื่องมือท่ีถูกสร้างข้ึนมาเพื่อให้ประชาชนในชุมชนต่างๆ ใช้ประโยชน์
ในการศกึ ษาตนเอง สบื คน้ ขอ้ มลู ภายในชมุ ชนหรอื ขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ชมุ ชน เพอื่ นำ� มาประมวลวเิ คราะห์
สงั เคราะห์ แลว้ จดั ทำ� แผนพฒั นาชมุ ชนบนพนื้ ฐานขอ้ มลู จรงิ ทมี่ ี อาจกลา่ วไดว้ า่ ประชาพจิ ยั คอื “การวจิ ยั
ตนเองของประชาชนโดยประชาชน เพ่ือประชาชน” หัวใจของประชาพิจัย คือ กระบวนการเรียนรู้ที่ช่วย
ให้ชุมชนค้นพบต้นทุนอันหลากหลายซึ่งเป็นศักยภาพท่ีแท้จริงของตน รวมทั้งพบแนวทางในการพัฒนา
ตน้ ทนุ ดงั กลา่ วไปสกู่ ารพงึ่ ตนเองในทสี่ ดุ (สมพงศ์ ตนั ตวิ งศไ์ พศาล, 2553) ในความเหน็ ของ เสรี พงศพ์ ศิ
(2553) หวั ใจของการทำ� ประชาพจิ ยั อยทู่ ก่ี ารสรา้ งกระบวนการเรยี นรทู้ ท่ี ำ� ใหช้ มุ ชนหลดุ พน้ จากวธิ คี ดิ แบบ
พึ่งพาและรอความช่วยเหลือจากรัฐหรือหน่วยงานภายนอก การท�ำประชาพิจัยจะท�ำให้ชุมชนค้นพบ