Page 60 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 60

4-50 ประวัตศิ าสตรไ์ ทย
       อย่างไรก็ตาม บทบาทของอยุธยาในการเป็นศูนย์กลางการค้าส่งผ่าน แม้จะมีความส�ำคัญ แต่ก็

ไมใ่ ชบ่ ทบาททเ่ี ดน่ เทา่ กบั บทบาทขอ้ แรก เพราะอยธุ ยาไมส่ ามารถแขง่ กบั มะละกาในดา้ นการเปน็ ศนู ยก์ ลาง
การค้าสง่ ผา่ น เน่อื งจากสภาพทำ� เลทตี่ งั้ ของเมืองท่ามะละกามีขอ้ ไดเ้ ปรียบกวา่ กรุงศรอี ยธุ ยามาก

       เมืองมะละกาต้ังอยู่บนเส้นทางการเดินเรือนานาชาติที่เลียบผ่านช่องแคบมะละกา ท�ำให้เป็น
ศูนย์รวมของการค้าระหว่างตะวันออก (จีน ตะวันออกไกล) และตะวันตก (ฝั่งมหาสมุทรอินเดียและ
ตะวนั ออกกลาง) ในขณะทท่ี ำ� เลทต่ี ง้ั ของกรงุ ศรอี ยธุ ยาแมจ้ ะมลี กั ษณะเปน็ เมอื งทา่ คา้ ขาย แตเ่ ปน็ เมอื งทา่
ท่ีหลบเข้ามาทางตอนบนของอา่ วไทย

       สว่ นค�ำวา่ สินคา้ ประเภทของปา่ หมายถงึ ผลิตผลตามธรรมชาติทมี่ ีต้นก�ำเนดิ จากป่า ซ่ึงยงั มิได้
ผา่ นกระบวนการปรงุ แตง่ หรอื ขน้ั ตอนการผลติ ทซ่ี บั ซอ้ น และปรากฏเปน็ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ มี่ อี ยใู่ นรปู
ของสตั วป์ า่ ผลติ ผลทไ่ี ดจ้ ากสตั วป์ า่ พชื พรรณไมแ้ ละสมนุ ไพร ทม่ี อี ยภู่ ายในราชอาณาจกั รอยธุ ยาและจาก
อาณาบริเวณใกล้เคียง อยุธยาได้สินค้าประเภทของป่าซ่ึงมีอยู่อุดมสมบูรณ์ในดินแดนแถบนี้ ด้วยการใช้
แรงงานไพรเ่ กบ็ หา หรอื ผา่ นขน้ึ มาตามขนั้ ตอนของระบบสว่ ย หรอื ดว้ ยการซอื้ หาแลกเปลยี่ นทง้ั จากราษฎร
และจากแวน่ แควน้ หรอื อาณาจักรเพ่อื นบ้าน เช่น ลา้ นนา ลา้ นชา้ ง มอญ และพม่า

       จากหลกั ฐานเทา่ ทมี่ อี ยู่ สมยั อยธุ ยาตอนตน้ (พ.ศ. 1893–2034) ตลาดสำ� คญั ทร่ี บั ซอื้ สนิ คา้ ประเภท
ของปา่ จากอยุธยา คือ ตลาดในประเทศจีน ซงึ่ เป็นตลาดการค้าที่ใหญ่ทีส่ ดุ ในโลกตะวันออกขณะนั้น อนงึ่
ตลาดการค้าท่หี มู่เกาะริวกวิ เมืองท่ามะละกา และเมอื งท่าตา่ งๆ ทางชายฝั่งมหาสมทุ รอนิ เดยี ต่างก็รบั ซอื้
สินค้าพวกของป่าจากอยุธยาด้วยเช่นกัน การค้าของป่าด้านมหาสมุทรอินเดียน้ี อยุธยาขนส่งสินค้าผ่าน
เมอื งทวาย มะรดิ และตะนาวศรี ซ่ึงเปน็ เมอื งท่าทางชายฝัง่ ตะวนั ตกด้านทะเลอนั ดามนั 28

       นอกจากการตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั จนี ภายใตก้ ารคา้ ในระบบบรรณาการแลว้ 29* อยธุ ยายงั มกี ารคา้ สำ� เภา
กับญี่ปุ่น อาหรับ มลายู อินเดีย ชวา และฟิลิปปินส์ แต่อยุธยามีการติดต่อค้าขายกับจีนมากท่ีสุด ส่วน
ชาตอิ นื่ ๆ มเี พยี งเลก็ นอ้ ย การคา้ สำ� เภาสว่ นใหญใ่ นสมยั นด้ี ำ� เนนิ การโดยพระมหากษตั รยิ ์ เจา้ นาย และขนุ นาง
มกี ารคา้ ของเอกชนบา้ ง ดำ� เนนิ การโดยพวกพอ่ คา้ ชาวจนี ไมป่ รากฏการคา้ สำ� เภาของพอ่ คา้ ชาวไทยทเี่ ปน็
สามญั ชนเลย คงเป็นเพราะขาดทนุ รอนและไม่มเี รือส�ำเภา

       ดงั นัน้ การคา้ กบั ตา่ งประเทศสมยั อยุธยาตอนตน้ จึงเป็นการค้าผูกขาดกลายๆ หรือโดยทางออ้ ม
แต่ระดับการผูกขาดยังมีไม่มาก พ่อค้าต่างชาติยังสามารถติดต่อค้าขายกับราษฎรและพ่อค้าชาติอ่ืนที่อยู่
ในอยุธยาได้โดยตรง ไมต่ ้องผา่ นองคก์ รของรฐั บาล คือ พระคลังสนิ คา้ เหมือนดังเชน่ สมัยหลงั

       ในดา้ นสนิ ค้าที่ซ้ือขายกัน เทา่ ที่รวบรวมจากเอกสารและบนั ทึกตา่ งๆ สินคา้ ขาออกนอกจากจะมี
สนิ คา้ ประเภทของปา่ เปน็ หลกั แลว้ ยงั มสี นิ คา้ พวกพรกิ ไทย ดบี กุ ทองคำ�  เงนิ ตะกวั่ พลอยตา่ งๆ เครอื่ งเคลอื บ
เคร่ืองปั้นดนิ เผา ผา้ ฝา้ ย และขา้ ว เฉพาะข้าวนั้นในสมัยอยุธยาตอนต้นคงสง่ ออกไม่มากนกั เพราะคงจะ
ผลติ ข้าวได้เกินบริโภคเพียงเล็กน้อย ขา้ วเปน็ สินค้าออกที่จัดอยใู่ นประเภททา้ ยรายการ สว่ นสนิ ค้าขาเข้า

         28 ปารชิ าติ วลิ าวรรณ. (2528). การคา้ ของปา่ ในประวตั ศิ าสตรอ์ ยธุ ยา พ.ศ. 1893–2310. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาอกั ษรศาสตร-
มหาบณั ฑติ ภาควิชาประวัติศาสตร์ บณั ฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. น. 14-77.

         29 หมายถงึ การค้าทีแ่ ฝงไปกับการทตู ทน่ี ำ� เครื่องราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดจิ นี แล้วได้สทิ ธใิ นการตดิ ตอ่ ค้าขาย
กับจีน ซ่ึงเปน็ ศนู ย์กลางทางการค้าของโลกตะวนั ออกในสมยั จารีต ภาษาไทยใช้ว่า “จม้ิ ก้อง” (ภาษาจนี -จน้ิ กง้ )
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65