Page 56 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 56

4-46 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย

                          ความน�ำ

       สภาพทำ� เลทต่ี ง้ั และความอดุ มสมบรู ณข์ องพน้ื ทที่ ำ� ใหเ้ ศรษฐกจิ ของอาณาจกั รอยธุ ยามพี น้ื ทส่ี ำ� คญั
อยทู่ กี่ ารเกษตรและการคา้ กบั ตา่ งประเทศ สว่ นโครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ มลี กั ษณะเปน็ เศรษฐกิจพอยังชีพ
(Self-Sufficient Economy) โดยมศี ูนยก์ ลางทางเศรษฐกจิ อยู่ท่ีชมุ ชนหม่บู า้ น ซึง่ เปน็ ชุมชนหน่วยทเี่ ลก็
ที่สุดในสังคม เศรษฐกิจพอยังชีพมีลักษณะส�ำคัญ คือ การผลิตภายในชุมชนหมู่บ้านมีวัตถุประสงค์หลัก
เพื่อการเล้ียงตนเองภายในชุมชน และจะผลิตส่ิงของเกือบทุกอย่างท่ีจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตด้วยตนเอง
ภายในชุมชนหมบู่ า้ นนนั้ 25

       ด้วยเหตุน้ีการค้าภายในของเศรษฐกิจพอยังชีพจึงมีจ�ำกัด เน่ืองจากหมู่บ้านต่างๆ สามารถพึ่ง
ตนเองได้เกือบทุกด้าน การซ้ือขายสินค้าระหว่างชุมชนหมู่บ้านมีน้อย ส่วนใหญ่มักเป็นการแลกเปลี่ยน
สงิ่ ของระหวา่ งหมบู่ า้ น (Barter System) และการคา้ ภายในทจ่ี ำ� กดั นท้ี ำ� ใหก้ ารใชเ้ งนิ ตราไมแ่ พรห่ ลาย สว่ น
การเคล่ือนย้ายผลผลิตอยู่ในลักษณะไพร่หรือราษฎรเสียภาษีอากรหรือส่งส่วยในรูปของผลผลิตต่างๆ ให้
รัฐ ผลผลิตเหล่านี้มอี าทิ ขา้ ว ดบี ุก ทองคำ�  ไมฝ้ าง ไมก้ ฤษณา ผลเร่ว คร่ัง รังนก งาช้าง หนังสตั ว์ ฯลฯ
รัฐจะน�ำผลผลิตเหล่านี้ไปใช้ ส่วนท่ีเหลือใช้ก็จะส่งไปขายต่างประเทศน�ำรายได้เข้ารัฐ ดังน้ัน การค้ากับ
ต่างประเทศของอยุธยาจึงเป็นการค้าผูกขาดที่ด�ำเนินการโดยรัฐ แต่ระดับการผูกขาดในแต่ละช่วงสมัยมี
ลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั เศรษฐกิจสมยั อยธุ ยามีภาพรวมโดยสรปุ ดังท่จี ะบรรยายตอ่ ไป

         25 เชน่ แตล่ ะหมู่บ้านจะปลกู ขา้ วและพชื ผักอ่ืนๆ เพ่อื การบริโภค จบั ปลาตามแม่น้าํ ลำ� คลอง หนอง บงึ ทอผา้ เพ่ือใชท้ �ำ
เป็นเครอ่ื งนุง่ ห่ม ปั้นหมอ้ ตมี ีด ทำ� จอบ เสยี ม รวมท้งั เคร่ืองมอื เครื่องใช้อ่ืนๆ ในชวี ิตประจ�ำวนั
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61