Page 53 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 53
อาณาจักรอยธุ ยา 4-43
ผกู พนั กบั มลู นายเดมิ หนโี จท24 ไปสงั กดั กบั กรมกองอนื่ ถกู ลงทะเบยี นเพอื่ เขา้ สรู่ ะบบการควบคมุ ทถ่ี กู ตอ้ ง
หรอื อกี นยั หนง่ึ กค็ อื สรา้ งความสมั พนั ธแ์ บบอปุ ถมั ภอ์ ยา่ งเปน็ ทางการกบั มลู นายคนใหม่ ลกั ษณะดงั กลา่ ว
ย่อมท�ำให้การควบคุมก�ำลังคนเกิดความซํ้าซ้อนกัน มีความยุ่งยากสับสน มูลนายเดิมฟ้องร้องแก่งแย่ง
เรียกไพร่ของตนกลับคนื เกดิ เป็นคดคี วามกนั อยเู่ สมอ
อาจกลา่ วไดว้ า่ ความยงุ่ ยากและความไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารงานดา้ นตลุ าการเปน็ ปจั จยั
ส�ำคัญที่สนับสนุนให้เกิดความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์อย่างไม่เป็นทางการข้ึนในระบบควบคุมก�ำลังคน
อนึ่งความช่วยเหลือท่ีพวกไพร่ต้องการส่วนใหญ่เป็นเร่ืองคดีความ นอกจากน้ันก็มีเรื่องการหนีเจ้าหน้ี
ความปรารถนาที่จะไม่ต้องถูกเกณฑ์แรงงาน ความต้องการท่จี ะท�ำงานเบาแทนงานหนัก เป็นตน้
หากพระมหากษัตริย์ทรงไม่เข้มแข็ง ปล่อยให้มีการสร้างความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์อย่างไม่เป็น
ทางการข้ึนมากมายแล้ว ก็จะส่งผลให้การจัดวางดุลอ�ำนาจของต�ำแหน่งตามระบบศักดินาต้องเสียดุลไป
มูลนายบางคนจะมีอ�ำนาจเกินศักดิ์ ในขณะที่บางคนจะมีอ�ำนาจน้อยกว่าศักดินาของตน ท�ำให้เกิดความ
วุ่นวายทางการเมือง กลุ่มการเมืองหลายกลุ่มจะเกิดขึ้น และจะซ่องสุมก�ำลังไพร่พลเพ่ือแย่งชิงอ�ำนาจ
ทางการเมืองกัน ปัญหาเร่ืองความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์อย่างไม่เป็นทางการเป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับไพร่
ท้งั ในสมยั อยุธยาและในสมัยรตั นโกสนิ ทร์
5. ปัญหาของระบบไพร่ในสมัยอยุธยา
ระบบไพร่สมัยอยุธยามีอายุยืนนานถึง 400 กว่าปี มีส่วนส�ำคัญในการช่วยเสริมสร้างอ�ำนาจ
ทางการเมือง ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ และความเป็นปึกแผ่นม่ันคงของอาณาจักร ส่ิงเหล่าน้ีสะท้อนให้
เห็นถึงความส�ำเร็จของอยุธยาในการควบคุมและจัดสรรก�ำลังคนไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่อาณาจักร
อยา่ งไรกต็ าม ระบบไพรส่ มยั อยธุ ยากป็ ระสบปญั หาหลายประการ เชน่ มลู นายกดขไ่ี พร่ ไพรห่ ลวงหนงี านหนกั
ดว้ ยการบวชเปน็ พระ ตดิ สนิ บนมลู นายใหร้ บั ตนเปน็ ไพรส่ ม ขายตวั เปน็ ทาส หรอื หนไี ปอยปู่ า่ นอกจากนน้ั
ยงั มปี ญั หาเรอ่ื งมลู นายเบยี ดบงั ไพรห่ ลวงมาเปน็ ไพรส่ ม มลู นายอาศยั ระบบไพรซ่ อ่ งสมุ กำ� ลงั คนเพอื่ แยง่ ชงิ
อำ� นาจทางการเมอื ง และปญั หาเรอื่ งไพรท่ ป่ี ระสบความเดอื ดรอ้ นมากๆ ไดร้ วมกนั กอ่ กบฏ เชน่ กบฏญาณพเิ ชยี ร
(พ.ศ. 2124) กบฏธรรมเถยี ร (พ.ศ. 2237) และกบฏบญุ กว้าง (พ.ศ. 2241)
พระมหากษตั รยิ อ์ ยธุ ยาทรงทราบดถี งึ ปญั หาตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในระบบการควบคมุ กำ� ลงั คน และได้
ทรงพยายามแก้ไขปญั หา ได้มีการออกกฎหมายหลายฉบบั เพ่ือแกไ้ ขปัญหาในระบบไพร่ โดยมงุ่ ให้ระบบ
ไพร่สามารถดำ� รงอย่อู ยา่ งมีประสิทธภิ าพ มาตรการทางกฎหมายที่ตราออกมามี อาทิ ให้มลู นายเอาใจใส่
ทกุ ขส์ ขุ ของไพรใ่ นสงั กดั หา้ มมลู นายใชไ้ พรห่ ลวงดจุ ทาส หา้ มเบยี ดบงั ไพรห่ ลวงมาเปน็ ไพรส่ ม หา้ มกกั ขงั
ไพรไ่ วใ้ ชง้ านตรากตร�ำ ใหม้ ลู นายหมนั่ ตรวจสอบดวู า่ มจี �ำนวนคนครบตามบญั ชหี างวา่ วหรอื ไม่ ใหส้ ง่ บญั ชี
รายชื่อก�ำลังคนในบังคับบัญชาของตนแก่กรมสุรัสวดีหรือกรมสัสดีให้ถูกต้องครบถ้วน ให้กวดขันดูแลให้
ไพรอ่ ยคู่ งหมคู่ งเหลา่ ในสงั กดั ใหถ้ กู ตอ้ ง ถา้ มคี นแปลกหนา้ ไปตามหวั เมอื งตา่ งๆ ใหเ้ จา้ เมอื งกรมการเมอื ง
สอบถามดวู า่ มาจากไหน เปน็ ไพร่ท่หี นีมาหรอื ไม่ ถ้ามลู นายละเลยการควบคุมไพร่ จนไพรห่ ลบเล่ยี งย้าย
หมูย่ ้ายกรมไปมูลนายจะถูกลงโทษ เปน็ ต้น
24 หนโี จทเปน็ สำ� นวนโบราณ หมายความวา่ เอาใจออกหา่ งจากมลู นาย