Page 48 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 48
4-38 ประวตั ิศาสตรไ์ ทย
วิวัฒนาการขน้ั ปลายสุดของไพรส่ มัยอยธุ ยาจึงแบ่งเปน็ ประเภทตา่ งๆ ดังผังข้างลา่ ง
1. ไพรส่ ม ไพร่หลวงแรงงาน
2. ไพร่หลวง ไพร่ส่วยสงิ่ ของ
ไพร่ส่วย
ไพร่ส่วยเงนิ
3. การควบคุมไพร่
อาณาจกั รอยธุ ยาในชว่ งระยะตน้ จะมกี ารจดั ระบบควบคมุ กำ� ลงั คนหรอื แรงงานไพรเ่ ปน็ อยา่ งไรนน้ั
ไมม่ หี ลกั ฐานใดบง่ บอกไวอ้ ยา่ งละเอยี ด แตห่ ลงั การปฏริ ปู การปกครองในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
แล้ว อยุธยาไดจ้ ัดระบบควบคุมกำ� ลงั คนในรปู ของกรมกอง สนั นษิ ฐานวา่ “กรม” ในสงั คมการเมืองไทยมี
ก�ำเนิดเบื้องต้นมาจากการควบคุมก�ำลังคน และต่อมาได้ขยายขอบเขตเพิ่มเติมเป็นหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่
ด้านการบริหารราชการด้วย กรมมีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ กรมเล็กมักขึ้นอยู่กับกรมใหญ่กรมใด
กรมหน่งึ กรมต่างๆ จะแบง่ ยอ่ ยเป็นกอง กองแบ่งเปน็ หมวดหมู่ตามลำ� ดับ การจดั กรมจึงเปรยี บเทยี บได้
กับการจดั กองทหาร กรมใหญ่เปรียบได้กบั กองพล กรมท่ีเลก็ กวา่ เปน็ กองพนั กองเป็นกองร้อย แล้วแยก
ย่อยเปน็ หมวดหมู่21
กรมทท่ี ำ� หน้าทค่ี วบคุมก�ำลงั คนในสมัยอยุธยามีอยู่ 2 ประเภท คือ กรมขนุ นางและกรมเจา้
3.1 กรมขุนนาง เปน็ กรมทท่ี ำ� หนา้ ทท่ี งั้ ดา้ นควบคมุ กำ� ลงั คนและบรหิ ารราชการ โดยมกี ารจดั แบง่
หน้าท่ีความรับผิดชอบตามล�ำดับข้ันอย่างมีระเบียบ กรมขุนนางขนาดใหญ่ ได้แก่ กรมพระกลาโหม
กรมมหาดไทย กรมเวยี ง กรมวงั กรมคลัง กรมนา กรมสุรสั วดี ฯลฯ ส่วนกรมขนาดเลก็ มีอาทิ กรมกอง
ตระเวนขวา กรมกองตระเวนซ้ายข้ึนกับกรมเวียง กรมธรรมการ กรมภูษามาลาขึ้นกับกรมวัง กรมฉาง
ข้ึนกบั กรมนา เปน็ ต้น
ไพร่ท่ีสังกัดกับกรมขุนนางคือ ไพร่หลวง พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งต้ังเจ้านายหรือขุนนาง
เป็นผ้บู ังคบั บัญชากรมพวกนี้ แตส่ ว่ นใหญแ่ ลว้ จะเป็นพวกขุนนาง เพราะหลังการปฏริ ูปการปกครองของ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ขุนนางได้กลายเป็นตัวจักรกลในการบริหารราชการ กรมเหล่าน้ีจึงเรียกกัน
โดยทว่ั ไปวา่ “กรมขุนนาง” ดว้ ยเหตนุ ้ี พวกขนุ นางจงึ ควบคมุ ไพร่หลวง โดยตำ� แหนง่ หนา้ ทกี่ ารงาน ใน
ขณะเดียวกนั จะควบคมุ ไพร่สม จำ� นวนหน่งึ ซ่งึ เป็นไพร่สว่ นตวั ท่ไี ด้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์
21 อคนิ รพีพัฒน,์ ม.ร.ว.. เรอ่ื งเดยี วกัน. น. 53–54, 160-161.