Page 47 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 47
อาณาจกั รอยธุ ยา 4-37
เมอื่ อยธุ ยาประสบความสำ� เรจ็ ในการดงึ ไพรส่ มของหวั เมอื งตา่ งๆ มาเปน็ ไพรข่ องพระเจา้ แผน่ ดนิ
แล้ว ไพร่สมในระยะหลังจึงเป็นไพร่ส่วนตัวของพวกมูลนายที่ได้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์ตาม
ศกั ดนิ าของมลู นายแตล่ ะคน เพอ่ื ใหไ้ พรส่ มรบั ใชท้ ำ� งานสว่ นตวั ใหม้ ลู นายและเมอื่ มลู นายถงึ แกก่ รรม ไพรส่ ม
กจ็ ะเปน็ มรดกตกทอดมาถงึ ลกู หลาน20 ในตอนปลายอยธุ ยาเมอ่ื มกี ารตงั้ กรมเจ้า ไพรท่ สี่ งั กดั กรมเจา้ ถอื วา่
เปน็ พวกไพร่สมด้วย
2.2 ไพร่หลวง เปน็ ไพรข่ องพระมหากษัตริย์ พระองคจ์ ะทรงปกครองและควบคุมไพรห่ ลวงโดย
ผา่ นทางขนุ นาง กล่าวคอื จะทรงใหไ้ พร่หลวงสงั กัดกบั กรมขนุ นางตา่ งๆ และขุนนางผู้เป็นเจา้ กรมจะเปน็
ผู้ดูแลควบคุมไพร่หลวงท่ีสังกัดกับกรมของตน ไพร่หลวงถือว่าเป็นสมบัติของพระเจ้าแผ่นดิน ไม่ใช่
ไพร่ของขุนนาง ขุนนางเพียงแต่ได้รับมอบหมายจากพระมหากษัตริย์ให้เป็นผู้ควบคุมดูแลแทนเท่าน้ัน
ไพรห่ ลวงจะถกู เกณฑแ์ รงงานมาท�ำงานโยธาต่างๆ ให้รัฐ เช่น ขุดคลอง สร้างกำ� แพงเมอื ง ปอ้ มปราการ
ถนนหนทาง วดั วาอาราม หรอื ถกู เกณฑเ์ ปน็ กองกำ� ลงั ในยามศกึ สงคราม สนั นษิ ฐานวา่ ไพรห่ ลวงจะถกู นำ�
มาใชง้ านเมอ่ื อยใู่ นวยั ฉกรรจแ์ ลว้ คงจะมอี ายปุ ระมาณ 18 หรอื 20 ปี และคงจะตอ้ งทำ� งานโยธาใหร้ ฐั จนถงึ
วยั ชราอายุ 60 ปี หรอื 70 ปี จงึ จะปลดจากการถูกเกณฑ์
ในปีหน่ึงไพร่หลวงจะต้องมอบแรงงานให้รัฐก่ีเดือนนั้น ในสมัยอยุธยาตอนต้นไม่มีหลักฐานใด
บ่งบอกไว้ ส่วนในสมยั อยธุ ยาตอนปลายไพร่หลวงจะตอ้ งทำ� งานใหร้ ัฐปลี ะ 6 เดอื น โดยจะผลดั เวรกันมา
ทำ� งานเดอื นเวน้ เดอื น เรยี กวา่ เขา้ เดอื นออกเดอื น ระหวา่ งทเี่ ขา้ เวรทำ� งานโยธาใหร้ ฐั ไพรห่ ลวงจะไมไ่ ดร้ บั
คา่ จ้าง และจะตอ้ งเตรยี มเสบียงอาหารมาเอง เมอ่ื ออกเวรพวกไพร่หลวงก็ไม่มีอิสระทจี่ ะทำ� มาหาเล้ียงชพี
อย่างเต็มท่ี มักจะต้องแบ่งเวลามารับใช้มูลนายเจ้าสังกัดด้วย เพราะพวกขุนนางเป็นผู้ควบคุมดูแลและ
คมุ้ ครองไพรห่ ลวง พวกไพรจ่ งึ ตอ้ งมคี วามเกรงใจ มอบแรงงานใหโ้ ดยไปชว่ ยทำ� นาในทดี่ นิ ของพวกขนุ นาง
รวมทง้ั ชว่ ยทำ� งานทำ� งานโยธาอนื่ ๆ ดว้ ย เชน่ ซอ่ มบา้ นใหข้ นุ นาง ขดุ สระนา้ํ เปน็ ตน้ ตลอดจนใหข้ า้ วของ
ต่างๆ เปน็ ของก�ำนลั ไพรห่ ลวงจงึ รบั ภาระทห่ี นักกวา่ ไพร่สมมาก
ในสมัยอยุธยาตอนกลาง เมอ่ื การคา้ กับตา่ งประเทศเจรญิ รุ่งเรืองมาก ท�ำให้เกดิ ไพรป่ ระเภทใหม่
คือ ไพร่ส่วย ไพร่พวกนี้เปน็ ไพร่หลวงที่มถี ิน่ ฐานอยู่ไกลจากราชธานีมาก เกณฑแ์ รงงานมาใชค้ ่อนข้างจะ
ล�ำบาก แตอ่ ยใู่ นท่อี ดุ มสมบูรณ์ มที รัพยากรที่รัฐต้องการ เช่น แร่เงิน แร่ทอง ดีบกุ รังนก ไมฝ้ าง ผลเรว่
และของปา่ อน่ื ๆ ฯลฯ รฐั จงึ อนญุ าตใหไ้ พรห่ ลวงพวกนส้ี ง่ สง่ิ ของใหร้ ฐั แทนการทำ� งานโยธา สว่ ยสงิ่ ของเหลา่ นี้
รฐั นำ� มาใชใ้ นงานราชการและสง่ ไปขายตา่ งประเทศ
ลว่ งมาถงึ สมยั อยธุ ยาตอนปลาย รฐั นอกจากจะใหม้ ไี พร่ส่วยส่ิงของแลว้ ยงั อนญุ าตใหม้ ไี พร่ส่วย
เงินดว้ ย เชน่ สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช หากไพร่หลวงคนใดไมอ่ ยากทำ� งานโยธาใหร้ ัฐ ก็จ่ายเงนิ
แทนได้ในอตั รา 2 บาทตอ่ เดอื น หรือ 12 บาทต่อปี อย่างไรก็ตาม ไพร่หลวงทีส่ ง่ แรงงานให้รัฐมจี ำ� นวน
มากท่สี ุดในบรรดาไพร่ประเภทตา่ งๆ
20 ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ รฐั ไดย้ กเลกิ การสบื ทอดไพรส่ มใหเ้ ปน็ มรดกแกล่ กู หลานเมอื่ มลู นายถงึ แกก่ รรม โดยใหโ้ อนไพรส่ ม
เหล่าน้นั มาเปน็ ไพร่หลวง