Page 46 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 46

4-36 ประวัติศาสตรไ์ ทย
ศักดินาเป็นตัวจักรกลในการบริหารงานการปกครอง ตามระบบใหม่นี้ ต�ำแหน่งหน้าที่ทางราชการมีส่วน
ส�ำคญั ในการก�ำหนดอำ� นาจของพวกมลู นาย

       ดว้ ยการแยกประเภทและจดั ฐานะของคนทกุ กลมุ่ ในสงั คมตามลำ� ดบั ชน้ั ระบบศกั ดนิ าจงึ เปรยี บเสมอื น
แผนทที่ แี่ สดงโครงสรา้ งการจดั ระเบยี บชนชน้ั ในสงั คมอยธุ ยา เปน็ ดชั นชี บี้ อกฐานะของผถู้ อื ศกั ดนิ า ความ
สัมพันธ์ระหว่างผู้ท่ีอยู่เหนือกว่าและผู้ที่อยู่ต่ํากว่า เป็นกลไกส�ำหรับควบคุมความมั่งค่ังและควบคุม
การปกครองตามลำ� ดบั ชนั้ ดงั นน้ั มลู นายทม่ี ศี กั ดนิ าสงู จงึ มฐี านะทางสงั คม สทิ ธิ และจำ� นวนไพรพ่ ลสงู กวา่
มูลนายท่ีมีศกั ดินาตํ่ากว่า

       ระบบศักดินานอกจากจะเป็นกลไกควบคุมการแจกจ่ายไพร่แล้ว ยังมีผู้เสนอว่าน่าจะมีความ
เกี่ยวข้องกับกรรมสิทธ์ิในการถือครองท่ีดินด้วย อย่างไรก็ตามเรื่องอ�ำนาจในการครอบครองท่ีนานั้นเป็น
ปญั หาการตคี วามทางวิชาการที่ยงั ไมย่ ตุ ิ จะตอ้ งศึกษาคน้ ควา้ กนั ตอ่ ไปอกี

2.	 ประเภทของไพร่

       ไพรใ่ นสมยั อยธุ ยาแบ่งอย่างกวา้ งๆ ไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ ไพรส่ มและไพร่หลวง
       2.1	 ไพร่สม เปน็ ไพรส่ ว่ นตวั ของพวกมลู นายคอื เจา้ นายและขนุ นาง มหี นา้ ทรี่ บั ใชม้ ลู นายของตน
จงึ ไม่ต้องถกู เกณฑม์ าท�ำงานโยธาใหร้ ัฐ หน้าทโี่ ดยปกตขิ องไพร่สม มีอาทิ ดูแลรักษาซอ่ มแซมท่ีพกั ของ
มลู นาย เดินสาส์น ตามเป็นบริวาร สรา้ งวดั ของมลู นาย ท�ำงานฝีมอื และน�ำขา้ วของตา่ งๆ มาบรรณาการ
มลู นายของตนอยา่ งสมา่ํ เสมอ ในยามศกึ หรอื ยามเกดิ ความไมส่ งบภายในทม่ี ลู นายของไพรส่ มมสี ว่ นพวั พนั
ดว้ ย ไพรส่ มกจ็ ะตอ้ งถกู เกณฑม์ าเปน็ ทหารภายใตก้ ารบงั คบั บญั ชาของมลู นายเจา้ สงั กดั เนอื่ งจากไพรส่ ม
มีฐานะเป็นสมบัติของมูลนาย จึงเป็นมรดกที่มูลนายสามารถสืบทอดให้ลูกหลานได้ และมูลนายยังมีสิทธิ
ซ้ือขายแลกเปลยี่ นกบั ไพร่สมของมูลนายอ่ืนไดด้ ว้ ย
       เชอ่ื กนั วา่ ไพรใ่ นสมยั อยธุ ยาตอนตน้ สว่ นใหญเ่ ปน็ ไพร่สม เพราะในชว่ งระยะนนั้ หวั เมอื งตา่ งๆ ที่
รวมอยใู่ นอาณาจกั รอยุธยา เช่น ลพบรุ ี สพุ รรณบรุ ี เมืองสรรค์ อินทบุรี ฯลฯ ยังมอี ำ� นาจในการปกครอง
ตนเองคอ่ นขา้ งมาก จนเกอื บจะเปน็ อสิ ระตามการปกครองแบบกระจายอำ� นาจ ดังนน้ั มลู นายของหวั เมือง
เหลา่ นจ้ี งึ มอี ำ� นาจสทิ ธขิ์ าดเหนอื แรงงานไพรใ่ นหวั เมอื งของตน อยา่ งไรกต็ าม พระมหากษตั รยิ อ์ ยธุ ยาตง้ั แต่
สมยั สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี 1 (พ.ศ. 1893–1912) เปน็ ตน้ มา ไดพ้ ยายามแผข่ ยายอำ� นาจของอยธุ ยาออกไป
และดงึ ไพรส่ มของหัวเมืองมาเปน็ ไพร่ของพระเจา้ แผน่ ดนิ
       ด้วยการดำ� เนนิ การอยา่ งต่อเน่ืองโดยอาศัยการสงคราม การแต่งงาน การทูต และการคา้ อยุธยา
ได้ประสบความส�ำเร็จในการขยายอ�ำนาจทางการเมืองและได้เข้าควบคุมแรงงานไพร่ของหัวเมืองต่างๆ
ดังจะเห็นได้ว่า อยุธยาสามารถปฏิรูปการปกครองดึงอ�ำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางในสมัยสมเด็จพระบรมไตร-
โลกนาถ (พ.ศ. 1991–2031) และจดั ระเบยี บระบบไพรใ่ นสมยั สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี 2 (พ.ศ. 2034–2072)
การปกครองและระเบียบระบบไพร่ที่จัดท�ำขึ้นในสองรัชกาลน้ีได้ใช้เป็นหลักส�ำคัญในการจัดระเบียบ
ทางสังคมและการปกครองของไทยมาจนถึงกลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่ง
กรงุ รตั นโกสินทร์ จึงไดม้ ีการปฏิรูปจัดระเบยี บสงั คมและการปกครองเปน็ แบบสมัยใหม่
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51