Page 50 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 50
4-40 ประวัติศาสตรไ์ ทย
เท่าท่ีพระมหากษัตริย์ยังไม่มีพระบรมราชโองการให้เปล่ียนแปลง ไพร่ที่สังกัดกรมเจ้าเป็นไพร่สม และ
เจ้านายผูบ้ งั คบั บัญชาจะมีขนุ นางส�ำคัญ 3 ต�ำแหน่ง คอื เจ้ากรม ปลัดกรม และสมหุ ์บญั ชี เปน็ ผ้ชู ว่ ยใน
การควบคุมดูแลไพร่ สมุห์บัญชีของกรมเจ้านายจะต้องส่งบัญชีหางว่าวเกี่ยวกับไพร่พลของกรมตนให้แก่
กรมสุรสั วดเี หมอื นดังเช่นกรมขนุ นางอ่ืนๆ
การแตง่ ตง้ั เจา้ นายใหท้ รงกรมถอื วา่ เปน็ การใหต้ ำ� แหนง่ เกยี รตยิ ศ และความมง่ั คง่ั เพราะไพรพ่ ล
ในครอบครองเปน็ เครอ่ื งหมายแสดงถงึ อำ� นาจและความมงั่ คงั่ ของมลู นายผเู้ ปน็ เจา้ ของ การตงั้ กรมเจา้ นาย
จงึ มจี ดุ ประสงค์เพื่อถ่วงดลุ อ�ำนาจของพวกขุนนาง หลังการปฏิรูปการปกครอง อำ� นาจของพวกขนุ นางได้
ทวเี พมิ่ มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ จนถงึ ขดี สงู สดุ ใน พ.ศ. 2172 ในปนี นั้ เจา้ พระยากลาโหมสรุ ยิ วงศ์ ไดแ้ ยง่ ชงิ ราชสมบตั ิ
จากเยาวกษตั รยิ แ์ หง่ ราชวงศส์ โุ ขทยั แลว้ ตงั้ ตนขน้ึ เปน็ พระมหากษตั รยิ ไ์ ดส้ ำ� เรจ็ ทรงพระนามวา่ “สมเดจ็ -
พระเจ้าปราสาททอง” ขณะท่ีอ�ำนาจของพวกขุนนางทวีความกล้าแข็งขึ้น อ�ำนาจของพวกเจ้านายกลับ
ตกตา่ํ ลงเรอ่ื ยๆ จึงมกี ารต้ังกรมเจ้านายเพื่อถ่วงดลุ อำ� นาจของพวกขนุ นาง
การตั้งกรมเจ้านายเร่ิมมีขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ (พ.ศ. 2199–2231) และประเพณีน้ีได้
ปฏิบัติกันสืบมา เม่ือเจ้านายทรงเจริญพระชนม์พอสมควร ก็จะได้เลื่อนยศเป็นเจ้าทรงกรม และได้รับ
พระราชทานกรมซึ่งประกอบด้วยไพร่พลและขุนนางไว้ในบังคับบัญชา สมัยอยุธยากรมเจ้ามี 3 ช้ัน คือ
กรมหมืน่ กรมขนุ และกรมหลวง สว่ นพระมหาอุปราชนน้ั จะทรงพระอสิ ริยยศสูงสุดเป็น “กรมพระราชวัง
บวรสถานมงคล”
ในปลายกรงุ ศรอี ยธุ ยากำ� ลงั คนของเจา้ ทรงกรมมคี วามเขม้ แขง็ มาก ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ สมเดจ็ พระบรมโกศ
เมอื่ ครงั้ ยงั ดำ� รงพระยศเปน็ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล ทรงแยง่ ราชสมบตั กิ บั เจา้ ฟา้ อภยั พระราชโอรส
ของสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ ทรงใช้แต่เพียงผู้คนในกรมของพระองค์ก็สามารถชนะเจ้าฟ้าอภัย ซ่ึงมีก�ำลัง
สนับสนนุ จากเจา้ พระยาพระคลังขนุ นางผใู้ หญ่
การแต่งตั้งให้เจ้านายทรงกรมเพ่ือถ่วงดุลอ�ำนาจพวกขุนนางนั้น หากถ่วงดุลไม่ดีก็มีผลร้ายต่อ
พระเจ้าแผ่นดินได้เช่นกัน ส่วนวิธีการควบคุมเจ้าทรงกรมน้ันข้ึนอยู่กับพระราโชบายของพระมหากษัตริย์
แต่ละพระองค์ สมเด็จพระนารายณ์ทรงเลือกแต่งตั้งเฉพาะเจ้านายฝ่ายในท่ีทรงไว้วางพระราชหฤทัย
ขน้ึ ทรงกรม สมยั สมเดจ็ พระเจา้ บรมโกศทรงแตง่ ตง้ั เจา้ ทรงกรมหลายพระองค์ ทงั้ เจา้ นายฝา่ ยในและเจา้ นาย
ฝา่ ยหนา้ เจา้ ทรงกรมเหลา่ นนั้ นอกจากจะถว่ งดลุ ขนุ นางแลว้ ยงั คานอำ� นาจเจา้ ทรงกรมดว้ ยกนั เองอกี ดว้ ย22
การควบคมุ กำ� ลงั คนโดยผา่ นกรมขนุ นางและกรมเจา้ เปน็ การควบคมุ แรงงานไพรท่ ส่ี งั กดั สว่ นกลาง
หรือเขตราชธานีและหัวเมืองชั้นใน ส่วนไพร่พลตามหัวเมืองต่างๆ ซ่ึงมีการแบ่งเป็นไพร่ฝ่ายทหารและ
ไพรฝ่ ่ายพลเรอื นเชน่ เดียวกับในส่วนกลางนนั้ จะอยภู่ ายใตก้ ารควบคุมของเจ้าเมืองและกรมการเมือง โดย
มีการแบ่งแยกย่อยเป็นกอง หมวด และหมู่ตามล�ำดับ นอกจากน้ันคงมีขุนนางช้ันผู้น้อยในท้องถิ่นอีก
2 ตำ� แหนง่ คอื นายบา้ นและกำ� นนั ทเี่ ขา้ มาชว่ ยควบคมุ พวกไพรด่ ว้ ย หวั เมอื งตา่ งๆ จะสง่ บญั ชหี างวา่ วใหแ้ ก่
สมุหพระกลาโหมหรือสมุหนายกข้ึนอยู่กับว่าเป็นไพร่ฝ่ายใด และจะต้องส่งบัญชีอีกชุดหน่ึงให้กรมสุรัสวดี
ดว้ ย
22 สกุ ญั ญา บำ� รุงสุข. เรื่องเดยี วกนั . น. 31–32.