Page 61 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 61

อาณาจกั รอยธุ ยา 4-51
มีแพรม้วน แพรดอก แพรโล่ ผ้าม้วน ผ้าลายทอง เคร่ืองถ้วยชาม เคร่ืองกระเบื้อง ดาบ หอก เกราะ
ทองแดง ก�ำมะถนั พัด ฉากญปี่ นุ่ เครื่องรกั และสารสม้ ฯลฯ

       หลงั สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ การคา้ กบั ตา่ งประเทศของอยธุ ยาไดข้ ยายตวั ออกไปมากขนึ้
กวา่ แตก่ อ่ น และอยธุ ยาเรมิ่ มกี ารตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั ชาตติ ะวนั ตก นอกเหนอื ไปจากการคา้ สำ� เภากบั จนี ญปี่ นุ่
อาหรับ มลายู อินเดีย ชวา และฟิลิปปินส์ ซ่ึงได้มีการติดต่อค้าขายกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้นแล้ว
การทก่ี ารคา้ กบั ตา่ งประเทศหลงั สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถเจรญิ รงุ่ เรอื งมากนนั้ อาจเปน็ เพราะวา่ การ
ปฏริ ปู การปกครองทำ� ใหอ้ ยธุ ยาสามารถควบคมุ หวั เมอื งตา่ งๆ ไดร้ ดั กมุ และดขี นึ้ กวา่ เดมิ จงึ สามารถเกณฑ์
สว่ ยสงิ่ ของจากบรรดาหวั เมอื งไดเ้ พม่ิ มากขน้ึ กวา่ แตก่ อ่ น สว่ นสงิ่ ของเหลา่ นส้ี ว่ นใหญม่ กั เปน็ สนิ คา้ ทพี่ อ่ คา้
ตา่ งชาตติ อ้ งการซอื้ เชน่ สนิ คา้ พวกของปา่ พรกิ ไทย เครอื่ งเทศ ดบี กุ เงนิ และทองคำ�  ฯลฯ เมอื่ เกณฑส์ ว่ ย
ได้มากก็คงจะสง่ ผลใหป้ ริมาณการค้ากับตา่ งประเทศพลอยเพิ่มมากขึ้นดว้ ย ส่วนการคา้ ของป่านนั้ ตลาด
ในประเทศจนี ยังคงเป็นตลาดส�ำคัญทร่ี บั ซื้อสนิ ค้าของปา่ จากอยุธยา

       ในดา้ นประเทศตะวนั ตกทเ่ี ขา้ มาตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั อยธุ ยานนั้ โปรตเุ กสนบั เปน็ ฝรงั่ ชาตแิ รกทสี่ ง่ ทตู
เขา้ มาเจรญิ สมั พนั ธไมตรที างการคา้ กบั อยธุ ยาใน พ.ศ. 2054 ตรงกบั รชั สมยั สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี 2 ตอ่ มา
ใน พ.ศ. 2059 อยธุ ยาและโปรตเุ กสไดล้ งนามในสนธสิ ญั ญาทางพระราชไมตรแี ละการคา้ นบั เปน็ สนธสิ ญั ญา
ฉบับแรกท่ีอยธุ ยาทำ� กับประเทศตะวันตก

       การคา้ กบั ตา่ งประเทศหลงั การปฏริ ปู การปกครองเจรญิ รงุ่ เรอื งทส่ี ดุ ในสมยั สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ
(พ.ศ. 2091–2111) ท�ำให้มีการตรากฎหมายหลายฉบับเกีย่ วกับการค้า เพื่อจัดวางระเบยี บการค้าขายและ
การจดั เกบ็ ภาษอี ากรใหร้ ดั กมุ ดขี นึ้ กวา่ เดมิ รวมทงั้ เรมิ่ มกี ารจดั ระบบผกู ขาดทางการคา้ กลา่ วคอื ไดม้ กี าร
ออกกฎหมายเกย่ี วกบั สนิ คา้ ตอ้ งหา้ ม ซงึ่ เปน็ สนิ คา้ ทรี่ ฐั บาลโดยพระคลงั ในฐานะผดู้ ำ� เนนิ การใหร้ ฐั จะเปน็
ผผู้ กู ขาดซอื้ ขายแตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว พอ่ คา้ คนใดจะขายสนิ คา้ ตอ้ งหา้ มกต็ อ้ งขายใหแ้ กพ่ ระคลงั หรอื จะซอ้ื กต็ อ้ ง
ซอื้ จากพระคลงั เช่นกัน สนิ ค้าตอ้ งหา้ มเหล่าน้ี สนิ คา้ ขาเขา้ ไดแ้ ก่ ปนื ไฟ กระสนุ ดนิ ดำ�  และกำ� มะถนั สว่ น
สนิ ค้าขาออก มี นอระมาด งาช้าง ไมก้ ฤษณา ไม้จนั ทน์ ไมห้ อม และไม้ฝาง

       ความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางการคา้ กบั ตา่ งประเทศไดเ้ สอ่ื มลงในชว่ งทเ่ี สยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาแกพ่ มา่ ใน พ.ศ.
2112 หลงั การตกตาํ่ รฐั บาลไดพ้ ยายามฟืน้ ฟกู ารค้ากับต่างประเทศข้ึนมาใหมท่ งั้ การคา้ กับชาติตะวันออก
และการคา้ กบั ชาตติ ะวนั ตก การคา้ กบั ตา่ งประเทศจงึ เจรญิ รงุ่ เรอื งขน้ึ มาอกี และเจรญิ ถงึ ขดี สงู สดุ ในแผน่ ดนิ
สมเดจ็ พระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148–2153)

       ในด้านการค้าของป่าได้ด�ำเนินมาถึงจุดเปล่ียนแปลง กล่าวคือ การค้าของป่าระหว่างอยุธยากับ
จนี ไดท้ รดุ ตาํ่ ลง อันเน่อื งมาจากความวนุ่ วายทางการเมอื งทีเ่ กดิ ขน้ึ ในประเทศจนี ในขณะเดยี วกนั การค้า
ของป่าระหว่างอยุธยากับญ่ีปนุ่ กไ็ ด้ก่อตัวข้ึน และญป่ี ุ่นไดก้ ลายเป็นตลาดสำ� คัญท่รี บั ซ้ือสนิ ค้าพวกของปา่
จากอยธุ ยาแทนทจ่ี นี ในชว่ งครงึ่ หลงั ของพทุ ธศตวรรษท่ี 22 ถงึ ครงึ่ แรกของพทุ ธศตวรรษที่ 23 พรอ้ มกนั นน้ั
ฮอลันดาก็ได้เข้ามามีบทบาทในการเป็นพ่อค้าคนกลางซ้ือสินค้าพวกของป่าจากอยุธยาไปขายให้ญี่ปุ่น
นอกจากการคา้ ของปา่ กบั ญป่ี นุ่ และฮอลนั ดาแลว้ ในชว่ งระยะน้ี อยธุ ยายงั ไดต้ ดิ ตอ่ คา้ ขายสนิ คา้ พวกของปา่
กบั จีน มะละกา เมืองทา่ ตา่ งๆ ทางชายฝง่ั มหาสมุทรอนิ เดยี และตลาดในยุโรปโดยผา่ นบรษิ ทั การคา้ ของ
องั กฤษและฝรั่งเศส แต่มีปรมิ าณการคา้ ไมม่ ากนกั
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66