Page 62 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 62
4-52 ประวัตศิ าสตร์ไทย
มีข้อน่าสังเกตว่า สินค้าของป่าที่ตลาดในญ่ีปุ่นมีความต้องการมาก คือ หนังกวางและไม้ฝาง
นอกจากนน้ั กม็ สี นิ คา้ ของปา่ ประเภทอน่ื ๆ เชน่ หวาย ไมซ้ งุ ไมเ้ นอื้ หอม ไมก้ ะลำ� พกั ยาดำ� กำ� ยาน แกน่ คนู
ข้ผี ้งึ เปลอื กสเี สียด รง ครงั่ ดบิ ครั่งแชลแลค งาช้าง นอแรด และรังนก30
นอกจากการเปลยี่ นแปลงในเรอ่ื งตลาดสำ� คญั ทร่ี บั ซอ้ื สนิ คา้ พวกของปา่ จากอยธุ ยาแลว้ ในชว่ งครง่ึ
หลงั ของพทุ ธศตวรรษที่ 22–ตน้ พทุ ธศตวรรษที่ 23 ไดม้ ปี ระเทศตะวนั ตกหลายประเทศเขา้ มาตดิ ตอ่ คา้ ขาย
กบั อยธุ ยา เชน่ สเปน (พ.ศ. 2141) ฮอลนั ดา (พ.ศ. 2147) องั กฤษ (พ.ศ. 2155) และฝรงั่ เศส (พ.ศ. 2216)
ประเทศตะวันตกเหล่านี้ได้เข้ามาตั้งสถานีการค้าท่ีกรุงศรีอยุธยาและตามเมืองท่าต่างๆ เช่น เมืองทวาย
มะรดิ ตะนาวศรี สงขลา และปตั ตานี
ส่วนการผูกขาดทางการค้าซ่ึงเร่ิมขึ้นในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดินั้น เม่ือมาถึงช่วงครึ่งหลัง
ของพทุ ธศตวรรษที่ 22 การผกู ขาดจะเรมิ่ ทวมี ากยง่ิ ขน้ึ โดยรฐั บาลจะเขา้ ไปผกู ขาดแมก้ ระทง่ั สนิ คา้ ธรรมดา
ทใี่ ชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ ถว้ ยชาม ผา้ แดง และมกี ารจดั ตงั้ สถาบนั การคา้ ของรฐั บาลทเี่ รยี กวา่ “พระคลัง
สินค้า” ในสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง (พ.ศ. 2172–2199) พระคลงั สินค้าจะรบั ผิดชอบด�ำเนินการคา้
ผูกขาดของรัฐบาล และพระคลังสินค้าจะเป็นองค์กรที่ส�ำคัญองค์กรหนึ่งของระบบเศรษฐกิจไทยมาจนถึง
สมัยรัชกาลที่ 4 แหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์
การขยายตัวทางการค้าดังท่ีได้บรรยายมาท�ำให้กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองข้ึนมาเป็นศูนย์การค้า
ทีส่ �ำคญั แหง่ หนึง่ ในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้สมยั จารีต อย่างไรก็ตาม ในสมัยสมเด็จพระเพทราชา การคา้
ระหว่างอยุธยากับตะวันตกได้เสื่อมโทรมลง อันเน่ืองมาจากความขัดแย้งระหว่างอยุธยากับฝรั่งเศส และ
การทผ่ี นู้ ำ� ของอยธุ ยามนี โยบายไมอ่ ยากคบคา้ กบั ชาตติ ะวนั ตก แมว้ า่ การคา้ กบั ชาตติ ะวนั ตกจะเสอื่ มโทรมลง
แตก่ ารคา้ ระหว่างอยุธยากับชาติตะวันออกต่างๆ เชน่ จีน ญี่ป่นุ เกาหลี ญวน เขมร ชวา สมุ าตรา และ
อินเดยี ฯลฯ ยงั คงเจริญรุ่งเรืองและได้ด�ำเนินสืบต่อมาจนสิน้ สมยั อยุธยาใน พ.ศ. 2310
ในดา้ นการคา้ ของปา่ ในชว่ งสมยั อยธุ ยาตอนปลาย ไดค้ ลายตวั ลงจนหมดความสำ� คญั และการคา้
ข้าวได้เข้ามาแทนที่ ความเปล่ียนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นจากเหตุปัจจัยหลายประการท้ังปัจจัยภายในและ
ปจั จัยภายนอก ปจั จัยภายในท่สี �ำคญั คอื การทีผ่ นู้ ำ� ของอยุธยามนี โยบายไมอ่ ยากคบค้ากบั ชาตติ ะวนั ตก
จึงส่งผลให้การค้าของป่าระหว่างอยุธยากับตลาดทางซีกตะวันตกโดยเฉพาะตลาดยุโรปต้องได้รับความ
กระทบกระเทอื น และตกอยู่ในภาวะชะงักงัน
สว่ นปจั จยั ภายนอกทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ การทรี่ ฐั บาลจนี หนั มาดำ� เนนิ นโยบายสง่ั ซอ้ื ขา้ วเปน็ สนิ คา้ หลกั
เข้าประเทศ เน่ืองจากเกิดทุพภิกขภัยอย่างรุนแรงในประเทศจีน ดังจะเห็นได้ว่า จักรพรรดิยงเจ้ิง (พ.ศ.
2266–2278) ถึงกบั มีรบั สง่ั วา่ กฤษณาและกำ� ยานซ่ึงเปน็ สินคา้ ของป่าอย่างดี ราคาแพง ท่ีอยธุ ยาเคยส่ง
มาถวายเป็นเครือ่ งราชบรรณาการนน้ั เป็นของไม่จ�ำเป็นต่อไปและไมต่ อ้ งส่งมาถวายอีกแลว้ และใน พ.ศ.
2286 จักรพรรดิเฉียนหลงได้มีพระบรมราชโองการให้ลดภาษีแก่พ่อค้าอยุธยาที่น�ำข้าวมาขายในจีน เพ่ือ
สง่ เสรมิ ให้มกี ารน�ำขา้ วมาขายมากๆ
30 ขุนวจิ ิตรมาตรา. เร่ืองเดียวกนั . น. 131–183. และปารชิ าติ วลิ าวรรณ. เรอื่ งเดียวกัน. น. 38–95.