Page 67 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 67

อาณาจักรอยุธยา 4-57

เร่ืองที่ 4.4.1
โครงสร้างชนช้ัน

       สังคมอยุธยาซึ่งมีพระมหากษัตริย์เป็นผู้น�ำและเป็นจุดสุดยอดของสังคมน้ันประกอบด้วยกลุ่มคน
4 กลุ่ม คือ เจ้านาย ขุนนาง ไพร่ ทาส โดยมีพระสงฆ์เป็นแกนกลางเชื่อมโยงกลุ่มคนต่างๆ ในสังคม
เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั นอกจากนน้ั มกี ารจดั ระเบยี บชนชน้ั ในรปู ของระบบศกั ดนิ า ซงึ่ ไดก้ ำ� หนดลกั ษณะชนชนั้ และ
สิทธหิ นา้ ท่ตี า่ งๆ ของคนในสงั คมอยุธยาท้ังลกั ษณะทเี่ ป็นแนวตัง้ และแนวนอน ลักษณะของระบบศกั ดนิ า
ทเี่ ปน็ แนวตง้ั นนั้ จะเหน็ ไดจ้ ากการจดั ลำ� ดบั ชนั้ ของคนในสงั คมอยธุ ยาลดหลน่ั กนั ลงมาตงั้ แตพ่ ระมหากษตั รยิ ์
เจา้ นาย ขุนนาง จนถึงไพร่ และทาส ส่วนลกั ษณะท่เี ป็นแนวนอนจะเห็นได้จากการก�ำหนดความแตกต่าง
ในสทิ ธทิ ส่ี มั พนั ธก์ บั หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะบคุ คลในแตล่ ะชนชน้ั ตวั อยา่ งเชน่ บคุ คลทเี่ ปน็ ขนุ นาง
ช้ันผู้ใหญ่แม้ว่าจะมีศักดินาเท่ากันในระดับ 10,000 ก็ตาม แต่ต�ำแหน่งและฐานะอาจแตกต่างกันได้ เช่น
ต�ำแหน่งสมุหพระกลาโหมและสมุหนายก ย่อมใหญ่กว่าต�ำแหน่งนครบาล ธรรมาธิกรณ์ โกษาธิบดี และ
เกษตราธิการ หรืออย่างเช่น ขุนนางยศชั้น “พระยา” ซึ่งมีศักดินาต่างๆ กันต้ังแต่ 1,000–10,000 นั้น
พระยาทม่ี ศี กั ดนิ าสงู ยอ่ มมตี ำ� แหนง่ สทิ ธิ หนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบและฐานะในสงั คมสงู กวา่ พระยาทม่ี ศี กั ดนิ า
นอ้ ยกว่า สว่ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชนช้ันในสงั คมมีลกั ษณะเปน็ ความสมั พนั ธแ์ บบอุปถัมภ์

1.	 ชนช้ันในสังคมอยุธยา

       ชนช้ันในสังคมอยุธยาแบ่งกว้างๆ ได้เป็น 2 ชนชั้นใหญ่ คือ ชนช้ันปกครอง และชนชั้นที่ถูก
ปกครอง ชนชนั้ ปกครองประกอบด้วย พระมหากษัตริย์ เจ้านาย และขุนนาง พวกเจ้านายและขุนนางนั้น
บางทีเรียกรวมๆ กันว่าพวกมูลนาย ส่วนชนชั้นท่ีถูกปกครอง ได้แก่ ไพร่และทาส โดยมีพระสงฆ์เป็น
แกนกลางเช่ือมโยงชนชัน้ ในสงั คมเขา้ ด้วยกัน ตามสาระขอ้ มูลโดยสรุปดงั นี้

       1.1	 พระมหากษัตริย์ ในทางการเมอื ง ทรงเปน็ ประมขุ ของอาณาจกั ร เปน็ เจา้ ชวี ติ กลา่ วคอื ทรง
มีพระราชอ�ำนาจเหนือชีวิตของคนทุกคนในสังคม ไม่ว่าบุคคลนั้นจะอยู่ในฐานะสูงต่ําเพียงใด ทรงเป็น
ทร่ี วมและท่ีมาแหง่ อำ� นาจ ทรงปกครองอาณาจกั รโดยมพี วกเจา้ นายและขนุ นางเป็นผู้ช่วย ซ่งึ เจา้ นายและ
ขนุ นางจะเปน็ ตวั จกั รกลในการบรหิ าร นอกจากนนั้ ยงั ทรงดำ� รงตำ� แหนง่ จอมทพั ของอาณาจกั ร บงั คบั บญั ชา
ทหารท้ังปวง ทรงมีหน้าท่ีป้องกันอาณาจักรให้พ้นภัยจากอริราชศัตรู และทรงเป็นเจ้าของที่ดินท้ังหมด
ในอาณาจกั ร จงึ ทรงเปน็ “พระเจ้าแผ่นดิน”

       ในทางสังคม ทรงดำ� รงฐานะสงู สดุ และเปน็ ผนู้ �ำของสงั คม นอกจากนนั้ ยงั ทรงเปน็ องคอ์ ปุ ถมั ภข์ อง
พุทธศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาท่ีช่วยจรรโลงเอกภาพของสังคมอยุธยา เพราะประชาชนในอาณาจักรไม่ว่า
จะเป็นกลุ่มคนในชนช้ันใด ส่วนใหญ่จะนับถือพุทธศาสนา ฉะน้ัน พุทธศาสนาจึงเป็นสายใยท่ีเช่ือมโยง
ชนชั้นปกครองและผู้อยู่ใตป้ กครองเข้าไวด้ ้วยกัน
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72