Page 69 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 69
อาณาจกั รอยธุ ยา 4-59
มีข้าทาสบริวารแวดล้อม ส่วนในทางเศรษฐกิจนั้น ขุนนางได้ประโยชน์จากพวกไพร่ท่ีอยู่ในความควบคุม
ในการเพม่ิ พนู โภคทรัพยท์ ง้ั ดา้ นการเกษตรและการคา้ กับตา่ งประเทศ พวกขุนนางจงึ มฐี านะมัง่ คง่ั
แม้ว่าต�ำแหน่งของขุนนางไทยจะไม่มีการสืบสกุล เป็นเพียงต�ำแหน่งเฉพาะตัว เม่ือคนที่ด�ำรง
ต�ำแหน่งเดิมสิ้นชีวิตลง ก็จะมีคนใหม่มาด�ำรงต�ำแหน่งแทน นี่เป็นเพียงทฤษฎี ในทางปฏิบัติแล้ว พวก
ขุนนางเป็นคนส่วนน้อยในสังคมที่มักวนเวียนกันอยู่ในกลุ่มของตนเอง กล่าวคือ ใครที่เกิดมาในตระกูล
ขนุ นาง กจ็ ะรบั ราชการเหมอื นกบั บรรพบรุ ษุ ไมค่ อ่ ยมชี นชน้ั อน่ื เชน่ พวกไพรเ่ ขา้ มาเปน็ ขนุ นาง เนอ่ื งจาก
ไม่มีโอกาสที่จะถวายตัวเป็นมหาดเล็ก ซึ่งเป็นช่องทางท่ีจะท�ำให้ได้เป็นขุนนาง โดยไต่เต้าจากขุนนาง
ตำ� แหนง่ เล็กๆ ไปจนถงึ ขุนนางชน้ั ผู้ใหญ่ ฉะน้นั สังคมของพวกขนุ นางจงึ เปน็ สังคมคอ่ นข้างปิด อนึ่งพวก
ขุนนางมวี ธิ รี ักษาอ�ำนาจและต�ำแหน่งใหส้ ืบทอดจากคนรนุ่ หนึ่งไปยงั อกี รนุ่ หน่งึ ไดห้ ลายวธิ ี คอื
1) ถวายลกู ชายให้เป็นมหาดเลก็ ซึ่งเปน็ ขนั้ ตอนแรกทจ่ี ะกา้ วเข้าไปรบั ราชการ
2) ถวายสตรีในตระกลู ใหเ้ ปน็ บาทบริจาริกาของพระมหากษัตรยิ ์
3) จัดให้มีการสมรสระหว่างบุตรธิดาของตระกูลขุนนางด้วยกัน เพ่ือให้เป็นพวกเดียวกัน
ถา้ เปน็ ขนุ นางทไี่ มถ่ กู กนั แกง่ แยง่ อำ� นาจกนั กจ็ ะแตง่ งานกนั เพอ่ื สบื ความลบั หรอื เพอื่ เปน็ ตวั ประกนั ตลอดจน
เปน็ การถ่วงดุลอ�ำนาจซ่งึ กันและกนั ด้วย
อำ� นาจ อภสิ ทิ ธ์ิ และเกยี รตยิ ศทข่ี นุ นางไดร้ บั ไดม้ าเพราะตำ� แหนง่ ราชการ เมอื่ ออกจากตำ� แหนง่
ก็จะหมดทั้ง อ�ำนาจ อภิสิทธิ์ และเกียรติยศ ด้วยเหตุนี้จึงไม่มีขุนนางคนใดต้องการจะออกจากต�ำแหน่ง
โดยปกตใิ ครเปน็ ขนุ นาง สว่ นมากจะพยายามอยใู่ นตำ� แหนง่ ตอ่ ไปเรอ่ื ยๆ จนกวา่ จะตาย ขนุ นางจะออกจาก
ตำ� แหน่งกต็ อ่ เมอื่ ทำ� ความผิดร้ายแรง จนพระมหากษัตรยิ ์ทรงถอดออกจากต�ำแหน่ง ถงึ แมว้ ่าพวกขุนนาง
จะอยใู่ นราชการตลอดชวี ติ แตก่ ารแทนตำ� แหนง่ กนั กเ็ ปน็ ไปอยา่ งคลอ่ งตวั เพราะคนในสมยั กอ่ นมกั อายสุ น้ั
แหลง่ ทม่ี าของอำ� นาจขนุ นาง คอื กำ� ลงั คนทอ่ี ยใู่ นความควบคมุ ซง่ึ เรยี กกนั วา่ “ไพรห่ ลวง” พวก
ขุนนางไดค้ ุมไพรห่ ลวง เพราะได้รบั มอบหมายจากพระเจา้ แผ่นดนิ ไพรห่ ลวงเปน็ สมบตั ิของหลวง ไม่ได้
เปน็ ของขนุ นาง แตเ่ นอ่ื งจากขนุ นางเปน็ ผคู้ มุ้ ครองพวกไพร่ พวกไพรจ่ งึ มคี วามเกรงใจ มอบแรงงานใหโ้ ดย
ไปชว่ ยทำ� นาในทด่ี นิ ของพวกขนุ นาง รวมทง้ั ชว่ ยทำ� งานโยธาอน่ื ๆ ดว้ ย เชน่ ซอ่ มบา้ นใหข้ นุ นาง ขดุ สระนา้ํ
เปน็ ตน้ ตลอดจนใหข้ า้ วของตา่ งๆ เปน็ ของกำ� นัล
1.4 พระสงฆ์ แมว้ า่ คณะสงฆจ์ ะมจี ำ� นวนสมาชกิ ไมม่ าก แตก่ เ็ ปน็ คนอกี กลมุ่ หนงึ่ ทมี่ คี วามสำ� คญั
ต่อสังคมอยุธยา ทั้งด้านการอบรมศิลปวิทยาการ และการเข้ามาท�ำหน้าท่ีเป็นแกนกลางเช่ือมโยงชนชั้น
ปกครอง (พระมหากษตั ริย์ เจา้ นาย ขนุ นาง) กบั พวกไพร่หรอื สามญั ชน
คณะสงฆป์ ระกอบดว้ ยสมาชกิ 2 พวก คอื พวกทบี่ วชตลอดชวี ติ ซงึ่ นบั เปน็ แกนหลกั ของคณะสงฆ์
พวกนมี้ จี ำ� นวนไมม่ าก แตม่ บี ทบาทสำ� คญั ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื สงเคราะหแ์ กป่ ระชาชนในทอ้ งถน่ิ ตา่ งๆ
สว่ นอีกพวกหนง่ึ เป็นพวกทีม่ าบวชอย่ชู ัว่ คราว อาจจะเป็นพวกไพร่ที่หนจี ากเจา้ ขุนมูลนายทกี่ ดขี่ มาบวช
เปน็ พระเพอ่ื ใหพ้ น้ จากภยั อนั ตราย พวกนน้ี บั เปน็ สว่ นตอ่ เตมิ ทไี่ มค่ งที่ นอกจากนนั้ คณะสงฆย์ งั เปน็ กลมุ่ คน
ท่ีรวมชนช้ันต่างๆ ในสังคมเข้าไว้ด้วยกัน เนื่องจากสังคมอยุธยาไม่มีการกีดกันว่า ชนชั้นไหนจึงจะบวช
เปน็ พระสงฆไ์ ด้