Page 70 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 70
4-60 ประวัตศิ าสตรไ์ ทย
คณะสงฆม์ กี ารตดิ ตอ่ อยา่ งใกลช้ ดิ ทงั้ กบั ชนชนั้ ปกครองและชนชน้ั ไพร่ ทำ� ใหไ้ ดท้ ราบความคดิ เหน็
และความตอ้ งการของทงั้ สองฝา่ ย จงึ เขา้ มาทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ แกนกลางเชอ่ื มโยงระหวา่ งชนชน้ั ทง้ั สอง นอกจากนน้ั
ชนชน้ั พระสงฆย์ งั เปน็ กลมุ่ คนในสงั คมทแ่ี ตกตา่ งจากพวกเจา้ นายและขนุ นางทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ ตรงทวี่ า่ แม้
จะมีจ�ำนวนไม่มาก แต่ก็กระจายไปอยู่ตามท้องถ่ินต่างๆ ท่ัวอาณาจักร และมีส่วนช่วยเหลือสงเคราะห์
ประชาชนในด้านต่างๆ ตลอดจนเป็นผู้อบรมศิลปวิทยาการ วัดจึงเป็นศูนย์กลางของประชาชนในชนบท
และพระสงฆ์มฐี านะเป็นผู้นำ� สังคมทางออ้ มทส่ี ำ� คญั
1.5 ไพร่ หมายถงึ ราษฎรสามญั ทวั่ ไปทงั้ ชายและหญงิ ทมี่ ไิ ดเ้ ปน็ มลู นาย และมไิ ดเ้ ปน็ ทาส ไพร่
ทุกคนจะต้องลงทะเบียนข้ึนสังกัดกับมูลนายซ่ึงได้แก่ เจ้านายและขุนนาง คนส่วนใหญ่ในสังคมประมาณ
ร้อยละ 80–90 จะเป็นไพร่ ชนช้ันไพร่ซ่ึงมีจ�ำนวนคนอยู่มากนับเป็นพ้ืนฐานของสังคมอยุธยา เป็นฐาน
อำ� นาจทส่ี ำ� คญั ยง่ิ ของชนชน้ั ปกครองทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ การเมอื ง และสงั คม ในดา้ นเศรษฐกจิ พวกไพรน่ บั
เป็นแรงงานส�ำคัญในการผลิตพืชผลต่างๆ ทางการเกษตร และการเก็บหาของป่าที่มีค่าเพื่อส่งไปขายยัง
ตลาดตา่ งประเทศ ทงั้ การเกษตรและการคา้ กบั ตา่ งประเทศเปน็ พน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ ของอาณาจกั รอยธุ ยา
ดังน้ัน หากชนช้ันปกครองใดมีไพร่อยู่ในความควบคุมมากก็จะมีฐานะม่ังค่ัง เม่ือมีฐานพลังทาง
เศรษฐกิจย่อมจะน�ำมาซ่ึงอ�ำนาจทางการเมือง ก�ำลังคนหรือแรงงานไพร่จึงมีความส�ำคัญ ท�ำให้เกิดก�ำลัง
และดลุ แหง่ อำ� นาจทางการเมอื ง ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากเหตกุ ารณใ์ นประวตั ศิ าสตรอ์ ยธุ ยาวา่ การแยง่ ชงิ ราชสมบตั ิ
แต่ละครัง้ จะต้องซอ่ งสุมกำ� ลังคนหรอื แรงงานไพร่ไวเ้ ป็นฐานพลงั ดา้ นเศรษฐกิจและการเมือง
ในทางสงั คม ชนชนั้ ปกครองทม่ี ไี พรอ่ ยใู่ นความควบคมุ มากยอ่ มเปน็ ผมู้ หี นา้ มตี า ไดร้ บั การยกยอ่ ง
และมีฐานะสูงในสังคม พวกไพร่นอกจากจะมีความส�ำคัญต่อชนชั้นปกครองหรือมูลนายในด้านเศรษฐกิจ
การเมือง และสังคมแล้ว ยังเป็นแรงงานโยธาในการก่อสร้างและซ่อมแซมสถานที่ต่างๆ ในอาณาจักร
รวมท้ังเปน็ กองก�ำลงั ในยามศกึ สงครามดว้ ย
จากที่ได้บรรยายมา จะเห็นได้ว่า ชนช้ันไพร่เป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่งและมีความส�ำคัญอย่างมาก
ต่อการเสริมสร้างอาณาจักรอยุธยา พวกไพร่แบกรับภาระต่อสังคมมาก แต่กลับเป็นชนช้ันท่ีไม่มีอภิสิทธิ์
ไมม่ อี �ำนาจ และไมม่ ีเกียรตยิ ศใดๆ เลย
1.6 ทาส เป็นคนส่วนนอ้ ยของสังคม ในปจั จบุ ันนกั ประวัตศิ าสตรบ์ างกลุ่มเชอ่ื ว่าสงั คมไทยมีทาส
ตัง้ แตส่ มยั สโุ ขทยั โดยในระยะเร่ิมแรกคงเป็นทาสเชลยศกึ ในสมยั โบราณอยกู่ นั เป็นชนเผ่า เมอื่ มกี ารตอ่ สู้
รบพุ่งกัน ฝ่ายท่ีรบชนะก็จะฆ่าผู้คนของฝ่ายท่ีแพ้ตายหมด แล้วเอาแต่ทรัพย์สมบัติไป ต่อมาเมื่อมีความ
เจริญมากขึ้น มีการเพาะปลูก ต้องการแรงงานคนมาช่วยท�ำการเกษตร จึงเปลี่ยนวิธี เวลารบชนะก็
กวาดต้อนผูค้ นมาเปน็ ทาส เรยี กกันวา่ “ทาสเชลยศึก”
ทาสในสมัยอยธุ ยาแบง่ กวา้ งๆ ได้ 2 ประเภท ดงั นี้
1) ทาสทสี่ ามารถซอ้ื อสิ รภาพของตนเองคนื ได้ เรยี กวา่ “ทาสสินไถ่” ทาสสนิ ไถน่ แี้ ทท้ จี่ รงิ
แลว้ คอื พวกไพรน่ น้ั เอง แตย่ ากจนลงจงึ ตอ้ งไปกเู้ งนิ จากพวกเจา้ นายหรอื ขนุ นางมาใชจ้ า่ ย เมอ่ื ไมส่ ามารถ
จะหาเงินไปคืนตามเวลาที่ก�ำหนด ก็ต้องขายตนเอง บุตร หรือภรรยา ไปเป็นทาส พอมีเงินค่อยไปซ้ือ
อสิ รภาพกลบั คืนมา ทาสสินไถ่จงึ อยู่ในฐานะไพรบ่ า้ ง ทาสบา้ ง แล้วแต่โอกาส กฎหมายในสมยั อยธุ ยาได้
ใหส้ ิทธิตา่ งๆ แกท่ าสประเภทนม้ี ากพอควร