Page 74 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 74
4-64 ประวตั ศิ าสตร์ไทย
เร่ืองที่ 4.4.2
พุทธศาสนากับสังคมอยุธยา
เมอื่ พนิ จิ จากสภาพการเมอื ง การปกครอง และสงั คม ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วมา จะเหน็ ไดว้ า่ ชนชน้ั ปกครอง
และชนชนั้ ทถ่ี กู ปกครองในสงั คมอยธุ ยามฐี านะและความเปน็ อยทู่ แ่ี ตกตา่ งกนั มาก ความเหลอ่ื มลา้ํ ทางสงั คม
หากมีอยู่มากย่อมเป็นอันตรายต่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคมน้ันๆ ในกรณีของอยุธยา
พุทธศาสนา ซ่ึงเป็นศาสนาที่ชนทุกช้ันนับถือได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการท�ำให้ช่องว่างระหว่างชนช้ัน
ลดน้อยลง รวมทงั้ เป็นสายใยชว่ ยเชื่อมโยงชนชั้นปกครองและชนชั้นท่ถี ูกปกครอง พทุ ธศาสนาจงึ มคี วาม
สำ� คัญมากต่อการจรรโลงเอกภาพของสังคมอยธุ ยา
พทุ ธศาสนามสี ว่ นชว่ ยจรรโลงเอกภาพของสงั คม โดยผา่ นทางหลกั ธรรมคำ� สอน หลกั ธรรมสำ� คญั
ที่มีอิทธิพลมาก คือ หลักเร่ืองกรรมและการเกิดใหม่ ซ่ึงมีสาระส�ำคัญว่า ผู้ใดท�ำกรรมใดไว้ย่อมได้รับ
ผลกรรมนนั้ ๆ ผูท้ ำ� กรรมดยี อ่ มไดร้ บั ผลดี ผูท้ ำ� กรรมชัว่ ยอ่ มได้รับผลช่วั ตามหลักพทุ ธศาสนา กรรมเป็น
เหตใุ หม้ นษุ ยต์ อ้ งกลบั มาเกดิ ใหมอ่ กี และการเกดิ ใหมน่ นั้ จะมฐี านะอยา่ งใดขนึ้ อยกู่ บั ผลของกรรมดคี อื บญุ
หรอื ผลของกรรมชวั่ คอื บาป ทส่ี ะสมไวใ้ นแตล่ ะชาติ ดว้ ยเหตนุ ผี้ ทู้ ส่ี รา้ งสมบญุ ไวใ้ นชาตปิ างกอ่ นๆ ยอ่ มมี
ฐานะดีขนึ้ ในชาติต่อไป
หลักค�ำสอนเรื่องกรรมและการเกิดใหม่ได้ก่อให้เกิดผลที่ส�ำคัญต่อสังคมอยุธยา คือ ท�ำให้เชื่อว่า
สถานภาพของแต่ละบุคคลในสังคมเป็นผลสืบเนื่องมาจากชาติปางก่อน คนท่ีมั่งมีได้เป็นเจ้านาย ขุนนาง
มยี ศฐาบรรดาศกั ดน์ิ นั้ เปน็ เพราะบญุ เกา่ สง่ เสรมิ สว่ นผทู้ ยี่ ากไรเ้ ขญ็ ใจกเ็ ปน็ เพราะผลบาปแตช่ าตปิ างกอ่ น
เช่นกัน และจ�ำต้องรับบาปกรรมน้ันไปจนกว่าจะส้ินเวร ด้วยเหตุน้ีบุคคลต่างๆ ในสังคมจึงมีฐานะท่ี
เทา่ เทียมกันไมไ่ ด้ เพราะแตล่ ะคนต่างมผี ลบญุ ผลบาปท่แี ตกตา่ งกัน
ความเชื่อนี้ได้ช่วยขจัดความรู้สึกเหล่ือมล้ําตํ่าสูงระหว่างชนช้ันต่างๆ ให้ลดน้อยลง ท�ำให้ชนชั้น
ปกครองและชนช้ันที่ถูกปกครองสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบเรียบร้อย โดยแทบจะไม่มีความขัดแย้ง
เกดิ ขนึ้ แตอ่ ยา่ งใด โดยทว่ั ไปแลว้ ความขดั แยง้ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในสงั คมอยธุ ยา สว่ นใหญม่ กั เกดิ จากการแยง่ ชงิ อำ� นาจ
กนั เองในหมู่ชนชั้นปกครอง สว่ นการกบฏของพวกไพรน่ ้นั มไี ม่มากนัก
ความส�ำคัญของพุทธศาสนาที่มีต่อการจรรโลงเอกภาพของสังคมอยุธยา ท�ำให้พระมหากษัตริย์
ตอ้ งเอาพระราชหฤทยั ใสเ่ รอ่ื งการทำ� นบุ ำ� รงุ พทุ ธศาสนา เชน่ ปฏสิ งั ขรณว์ ดั กลั ปนาทด่ี นิ และผคู้ นใหแ้ กว่ ดั
สนบั สนนุ การศึกษาและการสอบพระธรรม ถวายนิตยภตั ปจั จยั ตา่ งๆ โปรยทานใหค้ นยากจน และปิดทอง
พระพทุ ธบาท เป็นต้น อีกท้ังยงั ได้ทรงสร้างวัดวาอารามมากมายเพ่ือใหบ้ ้านเมอื งสวยงาม และเพอื่ แสดง
ว่าแมจ้ ะแตกต่างกนั ในเรอ่ื งของฐานะ แต่พระมหากษตั รยิ ์ก็มสี ง่ิ ที่ร่วมกบั ประชาชนคือ “พุทธศาสนา” จึง
ท�ำใหเ้ กดิ คตินยิ มในหมชู่ นช้นั สงู ว่าจะตอ้ งแข่งขนั กันสร้างวดั จนกระท่งั วดั ในอยธุ ยามีจ�ำนวนนับพนั วดั
นอกจากเปน็ เครอ่ื งจรรโลงเอกภาพของสงั คมแลว้ พทุ ธศาสนายงั มคี วามสำ� คญั ตอ่ การเมอื งอยธุ ยา
ดว้ ย ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถตอ้ งทรงใชพ้ ทุ ธศาสนาเปน็ ปจั จยั หนง่ึ ในการชว่ ยรวมแควน้
สโุ ขทยั เข้าเป็นสว่ นหน่งึ ของอาณาจักรอยุธยา