Page 68 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 68
4-58 ประวัตศิ าสตรไ์ ทย
ในแง่สถาบัน สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นหลักส�ำคัญในการปกครองอาณาจักร สถาบันพระ-
มหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาอยู่ในฐานะท่ีแตกต่างจากสมัยสุโขทัยซึ่งผู้ปกครองและผู้อยู่ใต้ปกครองมีความ
ใกล้ชิดกันมาก พระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาทรงไม่สามารถจะด�ำรงอยู่ในฐานะเช่นน้ี เพราะอาณาจักร
อยธุ ยามอี าณาเขตกวา้ งใหญไ่ พศาล จงึ มคี วามจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งสรา้ งสถาบนั พระมหากษตั รยิ ใ์ หเ้ ขม้ แขง็ เปน็
ทเี่ กรงขามของประชาชน เพราะหากทำ� สำ� เรจ็ แลว้ จะทำ� ใหอ้ าณาจกั รอนั กวา้ งใหญน่ น้ั มนั่ คงปลอดภยั ดว้ ย
เหตุนี้ อยุธยาจึงรับคติเทวราชาของอินเดียจากศูนย์กลางที่เขมร พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะเทพเจ้า
และคติเทวราชา (ลัทธิเทวราช) ได้สรา้ งใหพ้ ระมหากษตั รยิ ์ทรงมพี ระราชอ�ำนาจอันไพศาล
1.2 เจ้านาย คือ พวกพระญาติต่างๆ รวมทั้งพระราชโอรสพระราชธิดาของพระเจ้าแผ่นดิน
เป็นชนชั้นที่มีการสืบสายเลือด พวกเจ้านายเป็นชนชั้นที่ได้รับเกียรติยศและได้รับอภิสิทธ์ิมาตั้งแต่ก�ำเนิด
แต่อ�ำนาจของเจ้านายแต่ละพระองค์จะไม่เท่าเทียมกัน จะมีอ�ำนาจมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับต�ำแหน่งทาง
ราชการ กำ� ลังคนในความควบคมุ และความโปรดปรานทพ่ี ระมหากษตั ริย์ทรงมตี ่อเจ้านายพระองค์นนั้
ยศของพวกเจา้ นายแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื สกุลยศ เป็นยศท่เี จ้านายแตล่ ะองค์ได้รบั ตั้งแต่
กำ� เนดิ เราไมท่ ราบวา่ กอ่ นสมยั สมเดจ็ พระเอกาทศรถมกี ารแบง่ สกลุ ยศกนั อยา่ งไร สมเดจ็ พระบรมวงศเ์ ธอ
กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพทรงสนั นษิ ฐานวา่ ในสมยั อยธุ ยาตอนตน้ คงจะเรยี กพวกเจา้ นายวา่ “เจา้ ” เชน่
เจ้าอา้ ยพระยา เจ้ายพ่ี ระยา และเจ้าสามพระยา เป็นต้น แต่นบั จากสมยั สมเดจ็ พระเอกาทศรถเปน็ ต้นมา
สกลุ ยศของเจ้านายจะแบ่งเปน็ 3 ชั้น คือ เจ้าฟ้า พระองคเ์ จา้ และหมอ่ มเจ้า
สว่ นยศอีกประเภทหนึง่ คือ อิสริยยศ เปน็ ยศทเ่ี จา้ นายไดร้ ับพระราชทานเนอ่ื งจากไดร้ ับราชการ
แผน่ ดนิ ชว่ ยเหลอื พระมหากษตั รยิ ์ ตงั้ แตส่ มยั สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ 1 เปน็ ตน้ มาจนถงึ สมยั สมเดจ็ พระเจา้
ปราสาททอง อสิ รยิ ยศทเ่ี จา้ นายไดร้ บั พระราชทานจะขนึ้ ตน้ ดว้ ยคำ� วา่ “พระ” เชน่ พระราเมศวร พระบรม-
ราชา ในประวัติศาสตร์อยุธยามีพระราเมศวรและพระบรมราชาอยู่หลายพระองค์ เช่น พระราเมศวร
พระราชโอรสของสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 พระราเมศวรผู้ซึ่งต่อมาเสด็จข้ึนครองราชย์เป็นสมเด็จพระ-
บรมไตรโลกนาถ พระราเมศวรพระราชโอรสของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ส่วนพระบรมราชาน้ันก็มี
พระบรมราชาขุนหลวงพะงั่ว และพระบรมราชาซึ่งเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เจ้านายฝ่ายชายท่ีได้รับพระราชทานอิสริยยศ “พระ” ได้รับพระราชทานเน่ืองจากเป็นเจ้าครองเมือง
แม้ว่าตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนเรศวรเป็นต้นมา จะเลิกประเพณีการส่งเจ้านายไปครองเมือง แต่อิสริยยศ
“พระ” ยังคงมีใช้กันอยู่มาจนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
แตจ่ ากสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ าจนถึงสิ้นกรุงศรอี ยธุ ยาใน พ.ศ. 2310 อสิ ริยยศของเจ้านายจะ
อยใู่ นรปู ของ การทรงกรม เปน็ กรมหมน่ื กรมขนุ กรมหลวง เปน็ ตน้ อสิ รยิ ยศทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ ของพวกเจา้ นาย
คือ อิสริยยศของพระมหาอุปราช เป็นอิสริยยศสูงสุดที่พวกเจ้านายจะได้รับพระราชทาน เมื่อถึงสมัยที่มี
การทรงกรมใชช้ ่ือยศว่า “กรมพระราชวังบวรสถานมงคล”
1.3 ขุนนาง เปน็ คนอกี กลุม่ หนึง่ ในสังคมทีม่ ที ้งั อำ� นาจ อภิสิทธ์ิ และเกยี รติยศ เปน็ ชนส่วนนอ้ ย
ในสงั คมทม่ี โี อกาสเขา้ รบั ราชการ ไดใ้ กลช้ ดิ ศนู ยอ์ ำ� นาจทางการเมอื ง มสี ว่ นรว่ มในการชว่ ยพระมหากษตั รยิ ์
ปกครองอาณาจกั ร หรอื กลา่ วอกี นัยหนึง่ กค็ อื เป็นตวั จักรกลในการบริหารราชการต่างๆ พวกขุนนางจึงมี
อำ� นาจและบทบาทในการเมอื งอยธุ ยา ในทางสงั คม พวกขนุ นางอยใู่ นฐานะชนชน้ั สงู ไดร้ บั การยกยอ่ งและ