Page 33 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 33

เอกภพและระบบสุริยะ 6-23

   อัลคอร์       อะลอิ อธเมเกรซ    ดเู บ
อลั เคด มซิ าร์          เฟคดา   เมแรค

                            ภาพที่ 6.15 ขอบเขตของกลุ่มดาวหมีใหญ่
       2.2 	ขนาดและมวลของดาวฤกษ์ เนอื่ งจากดาวฤกษม์ ีขนาดและมวลสารต่างๆ กนั เมอ่ื เทยี บกบั
ดวงอาทติ ย์ (มวลสาร Mo) จะมดี าวฤกษจ์ ำ� นวนหนงึ่ ท่มี มี วลสารใกล้เคยี งกบั ดวงอาทติ ย์ หากดาวฤกษม์ ี
มวลสารน้อยกว่าดวงอาทิตย์ เช่น น้อยกว่า 40 เท่า นักดาราศาสตร์เรียกดาวฤกษ์มวลสารขนาดน้ีว่า
ดาวแคระ (Dwarf) ถ้ามีมวลสารเป็นหลายสิบเท่าของดวงอาทิตย์เรียกว่า ดาวยักษ์ (Giant) หรือถ้ามี
มวลเกินรอ้ ยเท่าของดวงอาทิตย์เรยี กวา่ ดาวยักษ์ใหญ่ (Supergiant)
       มวลของดาวฤกษ์เป็นปัจจัยหลักอย่างหน่ึงท่ีบอกได้ว่า ดาวฤกษ์ดวงน้ีมีอายุนานเท่าใด จบชีวิต
ลงอย่างไร สามารถผลิตธาตุใดได้บ้าง มีความสว่างมากน้อยเพียงใด และขนาดก็มักเปล่ียนแปลงตาม
มวลสาร กลา่ วคอื ถา้ มวลสารมากขนาดจะใหญ่ มเี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางหรอื รศั มเี ปน็ หลายเทา่ ของดวงอาทติ ย์
       2.3 	ระบบของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์บางดวงที่มองเห็นเป็นดวงเดียว บนท้องฟา้ แทท้ ีจ่ รงิ เปน็ ดาวคู่
เช่น ดาวซรี อี สั ประกอบด้วยดาวฤกษ์ 2 ดวง คอื ซริ อิ ัสเอ และซริ อิ สั บี เคล่ือนท่ีรอบซ่ึงกันและกนั รอบละ
ประมาณ 50 ปี ซริ ิอัสเอมีมวลสาร 2.14 Mo และซิรอิ สั บมี ีมวลสาร 1.05 Mo ดาวคู่จึงเป็นระบบดาวฤกษ์
2 ดวงเคล่อื นรอบซง่ึ กันและกนั

B                A
     A

                                                                             B
	 (ก) เมือ่ ซิรอิ สั เอและบีปรากฏอยู่ใกล้กนั ทสี่ ุด 	 (ข) เมื่อซิริอัสเอและบีปรากฏอยูไ่ กลกนั ท่ีสุด

             ภาพท่ี 6.16 ระบบดาวซิริอัส ดาวแต่ละดวงจะเคล่ือนรอบจุดศูนย์กลางร่วมกัน
	 เกือบเป็นวงกลม แต่ระนาบทางโคจรไม่ต้ังฉากกับเส้นสายตา จึงเห็นเป็นวงรี
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38