Page 29 - การคุ้มครองผู้บริโภคและกฎหมาย เกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้า
P. 29
กฎหมายวา่ ด้วยความรับผิดในผลิตภณั ฑ์ (1) 9-17
“เน่ืองจากผู้ให้บริการสาธารณสุขจ�ำเป็นต้องผลิตยาหรือเคร่ืองมือแพทย์ส�ำหรับใช้ในการให้บริการ
สาธารณสขุ เพอื่ ใหม้ คี วามเหมาะสมกบั ผปู้ ว่ ยหรอื สตั วเ์ ฉพาะรายทผ่ี า่ นการตรวจรกั ษา หรอื ไดผ้ ลติ ตามคำ�
ส่ังของผู้ให้บริการสาธารณสุขผู้ตรวจรักษานั้น โดยไม่ได้ผลิตในลักษณะเดียวกันเพ่ือขายแก่บุคคลทั่วไป
ตามทก่ี ฎหมายวา่ ดว้ ยความรบั ผดิ ตอ่ ความเสยี หายทเ่ี กดิ ขนึ้ จากสนิ คา้ ทไ่ี มป่ ลอดภยั มงุ่ ประสงคท์ จี่ ะบงั คบั
ประกอบกบั การใหบ้ รกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ของผใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ มกี ฎหมายเฉพาะบงั คบั
อยแู่ ลว้ สมควรกำ� หนดใหย้ าและเครอ่ื งมอื แพทยด์ งั กลา่ วเปน็ สนิ คา้ ทไ่ี ดร้ บั ยกเวน้ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยความ
รับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจากสินค้าท่ีไม่ปลอดภัย ส�ำหรับยา เครื่องมือแพทย์ และสังหาริมทรัพย์
อื่นใดท่ีผู้ให้บริการสาธารณสุขได้น�ำมาใช้ในการผลิตดังกล่าว ยังคงเป็นสินค้าตามกฎหมายว่าด้วยความ
รับผิดต่อความเสียหายที่เกิดข้ึนจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคจึงจ�ำเป็นต้องออก
กฎกระทรวงนี”้
กระแสไฟฟ้าเป็นสินค้าตาม พ.ร.บ. นี้
ค�ำอธิบาย
สนิ คา้ ตามนยิ ามในกฎหมายวา่ ดว้ ยความรบั ผดิ ตอ่ ความเสยี หายทเี่ กดิ ขน้ึ จากสนิ คา้ ทไี่ มป่ ลอดภยั
บญั ญัติใหร้ วมถึงกระแสไฟฟา้ ดว้ ย
ค�ำว่าสินค้าตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดในผลิตภัณฑ์ของต่างประเทศ เช่น ประเทศฝร่ังเศส
ประเทศเยอรมนี คำ� นิยามค�ำวา่ “สินค้า” (product) หมายความว่า สงั หาริมทรพั ย์ทุกชนดิ แมจ้ ะติดอยู่
กับอสงั หารมิ ทรัพย์ และรวมถึงกระแสไฟฟา้ ดว้ ย
เร่ิมแรกท่ีประเทศไทยมีการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก
สินค้าท่ีไม่ปลอดภัย ตั้งแต่วันท่ี 20 กุมภาพันธ์ 2552 เป็นต้นไปนั้น หน่วยงานของรัฐได้แก่ กระทรวง
มหาดไทยและหนว่ ยงานรฐั วิสาหกจิ ทเี่ กีย่ วกับการผลติ และจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้า เช่น การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ
แหง่ ประเทศไทย การไฟฟา้ นครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ไดย้ น่ื เร่ืองเสนอขอยกเว้นกระแสไฟฟ้าทม่ี ี
สถานะดงั ตอ่ ไปนใ้ี หเ้ ปน็ สนิ คา้ ทไ่ี มอ่ ยภู่ ายใตบ้ งั คบั พระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ี (กฎหมายวา่ ดว้ ยความรบั ผดิ ฯ)
โดยขอใหร้ ะบกุ ระแสไฟฟ้าเปน็ สนิ คา้ ไวใ้ นกฎกระทรวงไดแ้ กก่ ระแสไฟฟ้าดังต่อไปน้ี
(1) การเกิดความเสียหายเน่ืองจากกระแสไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟ้าในส่วนที่เป็นทรัพย์สินของผู้
บรโิ ภค หากแรงดนั ไฟฟา้ ทจี่ า่ ยจากผปู้ ระกอบการอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพทผี่ ปู้ ระกอบการไดป้ ระกาศ
ไวแ้ ล้ว
(2) การเกดิ ความเสยี หาย เนอ่ื งจากผบู้ รโิ ภคไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานความปลอดภยั เกย่ี วกบั การ
ใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้องตามที่ผู้ประกอบการได้แจ้งไว้แล้ว อันได้แก่ การติดตั้งระบบไฟฟ้าที่เป็นไปตาม
มาตรฐาน การเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานและการบ�ำรุงรักษาไฟฟ้าอย่างถูกต้อง
เหมาะสม
(3) การเกิดความเสียหาย เน่ืองจากแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะหรือไฟฟ้าดับช่ัวขณะ (หรือไฟฟ้า
กะพริบ) หรอื ไฟฟ้าดับ
(4) ความเสยี หายทเี่ กดิ จากกระแสไฟฟ้าหรือแรงดันไฟฟา้ อันเนือ่ งมาจากเหตุสุดวิสัย