Page 69 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 69

การส่ือสารชมุ ชนกบั การพฒั นาการเมืองชุมชน 6-59
แนวตอบกิจกรรม 6.3.1	

       การสือ่ สารทางการเมืองของชุมชนรูปแบบใหม่ ไดร้ บั อิทธพิ ลจากทฤษฎีขบวนการทางสังคมใหม่
โดยให้ความส�ำคัญของการกระท�ำรวมหมู่ เช่น การเมือง อุดมการณ์ วัฒนธรรม การพยายามวิเคราะห์
อัตลกั ษณร์ ่วมทางสังคม ในหลากหลายมิติ เชน่ ชาตพิ ันธุ์ เพศสภาวะ (Gender) เพศวิถี (Sexuality)
ผา่ นกิจกรรมอันหลากหลาย

เรื่องที่ 6.3.2	
กรณีศึกษาการส่ือสารชุมชนกับการพัฒนาการเมืองชุมชน

       ดังท่ีได้กล่าวในข้างต้นถึงความหมายของการส่ือสารที่เชื่อมโยงกับความหมายของ “ชุมชน” ท่ี
กว้างขวางกว่าความหมายของชุมชนทางกายภาพ คือชุมชนเมืองและชุมชนชนบท มาสู่ความหมายของ
ชุมชนในพื้นท่ีรูปแบบอ่ืนๆ ที่เน้นการมองการรวมกลุ่มและการมีสายสัมพันธ์ที่เช่ือมร้อยจิตใจผู้คนเอาไว้
เช่น ชุมชนจิตใจหรือชุมชนออนไลน์ ขณะเดียวกันก็ส่งผลต่อการมองความหมายของ “อ�ำนาจ” และ
“การเมอื ง” ทเี่ ขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งกบั ชมุ ชนในสองลกั ษณะนดี้ ว้ ย โดยเปน็ การมองอยบู่ นกระบวนทศั นท์ เ่ี คลอ่ื นยา้ ย
“อ�ำนาจ” จาก “รัฐ” มาสู่ “ภาคประชาชน” น�ำมาสู่ให้ความส�ำคัญกับการเมืองในระดับชุมชน ซ่ึงเป็น
การมองในจุดยืนแบบ “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” (People Oriented) ซ่ึงท�ำให้ต้องให้ความส�ำคัญกับ
ทิศทางการสื่อสารรปู แบบใหมๆ่ ท่ชี ่วยเออื้ ตอ่ การเสรมิ สร้างพลงั และความเข้มแข็งของภาคประชาชน ให้
มอี ำ� นาจในการตอ่ สตู้ อ่ รองในทางการเมอื ง ซง่ึ หมายถงึ การพฒั นาทางการเมอื งของภาคประชาชนทางหนงึ่
ดว้ ย โดยรวบรวมงานที่เก่ียวข้องในประเด็นดงั กลา่ วดังน้ี

       สราวุฒิ แซ่เต๋ียว (2546) ศึกษาบทบาทหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นกับการพัฒนาการเมืองในจังหวัด
เชียงใหม่ ผ่านหนังสือพิมพ์ “เชียงใหม่นิวส์” โดยพบว่า คอลัมน์การเมืองเป็นประเด็นที่ผู้อ่านสนใจมาก
ทสี่ ดุ ทง้ั การนำ� เสนอของหนงั สอื พมิ พ์ “เชยี งใหมน่ วิ ส”์ ไดท้ ำ� หนา้ ทกี่ ระตนุ้ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทางการ
เมอื งในระดบั ท้องถ่ินได้ดีข้นึ โดยมหี น้าท่ีในการใหค้ วามรู้ ความเข้าใจทางการเมอื ง การใหข้ ่าวสารทัง้ ยงั
เปน็ สอ่ื กลางเพอื่ การพฒั นาการเมอื งทอ้ งถน่ิ และทำ� หนา้ ทใ่ี นการปลกุ จติ สำ� นกึ ตอ่ การพฒั นาการเมอื งทอ้ งถนิ่
และพัฒนาการเมอื งทอ้ งถ่ิน

       รตั นา ทมิ เมอื ง และอภชิ ญาณ์ ดนยั พริ ยิ ะ (2551) ศกึ ษาบทบาททางการเมอื งและการมสี ว่ นรว่ ม
ของวทิ ยชุ มุ ชนในการเลอื กตงั้ พบวา่ รปู แบบการนำ� เสนอสว่ นใหญเ่ ปน็ แบบสนทนาและมกี าร “โฟนอนิ ” เขา้ มา
ในสถานวี ิทยุชมุ ชนมบี ทบาทในการท�ำหน้าทแี่ ทนกลไกของรฐั ในการใหข้ อ้ มูลเลือกต้ังแก่ประชาชน แต่ยัง
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74