Page 71 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 71

การส่อื สารชมุ ชนกบั การพัฒนาการเมอื งชมุ ชน 6-61
       สิริพร สงบธรรม (2544) ศึกษาบทบาทของรายการวิทยุเพื่อชุมชนกับประชาคมสงขลา พบว่า
รายการวิทยุเพื่อชุมชน มีบทบาทเป็นเคร่ืองมือในการแจ้งข้อมูลข่าวสารแต่ไม่สามารถที่จะมีอิทธิพลต่อ
ผ้รู บั สารในทางพฤตกิ รรมได้ อยา่ งไรกต็ ามกลบั พบวา่ กลุม่ เครอื ขา่ ยส่ือบคุ คลทท่ี �ำงานร่วมในกิจการวทิ ยุ
ชมุ ชน กลบั มีบทบาทอย่างย่ิงในการก่อเกดิ ประชาคมสงขลา ในแงข่ องการสร้างการมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรม
รณรงคเ์ พ่อื สรา้ งความเข้มแข็งของประชาคม
       ศวิ พร ญาณวทิ ยากลุ (2542) ศกึ ษาเรอ่ื งประชาสงั คมกบั จส.100 พบวา่ สถานวี ทิ ยุ จส. 100 วทิ ยุ
ข่าวสารและการจราจร เป็นกลไกส�ำคัญในการสร้างประชาสังคมเมือง โดยอาศัยการสร้างความสัมพันธ์
เชิงแนวราบกับผู้ฟัง การใช้ภาวะผู้น�ำในแต่ละเหตุการณ์ ท่ีท�ำให้เกิดความรู้สึกเช่ือมโยงผูกพันกันภายใน
เครือข่าย เปิดโอกาสใหม้ ีส่วนรว่ มในการส่งเสรมิ วฒั นธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย คือ การสรา้ ง
สำ� นกึ สาธารณะ การเมอื ง ใหแ้ ก่ชมุ ชนท้องถนิ่
       ปาจารยี ์ พวงศรี (2555) ทำ� การศกึ ษา “การสอ่ื สารผา่ นพน้ื ทสี่ าธารณะของคนชายขอบในรายการ
ขา่ วพลเมอื ง สถานโี ทรทศั น์ไทยพบี ีเอส” (2555) โดยมขี ้อค้นพบจากการศึกษาคือ
       ปาจารยี พ์ บวา่ การออกแบบการสอ่ื สารและวธิ กี ารสอ่ื สารของคนชายขอบผา่ นพน้ื ทสี่ าธารณะทาง
รายการนักข่าวพลเมือง สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส โดยพบว่า การสื่อสารของคนชายขอบมีลักษณะ
“ส่ือสารด้วยอ�ำนาจ แม้ว่าไร้อ�ำนาจ” กล่าวคือนักข่าวพลเมืองแต่ละกลุ่มมีความสามารถในการใช้ความรู้
งานวจิ ยั หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ทนุ ทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาดง้ั เดมิ หยบิ ยกมานำ� เสนอผา่ นรายการ
สือ่ พลเมอื ง เพ่ือ “ต่อรอง” กับอำ� นาจอีกด้านหนึ่ง เพื่อให้ได้รับสิทธิทางพลเมือง ตอ่ สกู้ ับโครงการพัฒนา
และการรกุ คบื ของโลกาภวิ ตั น์ โดยอาศยั “การกระทำ� เชงิ ภาษา” เปน็ เครอื่ งมอื หลกั ในการตอ่ สู้ ตามแนวคดิ
ของฮาร์เบอร์มาส คือ 1) ใช้ภาษาเพื่อแสดงเหตุผล ข้อเท็จจริงและอ้างสถิติ (Constatives) 2) การใช้
ภาษาในรปู แบบการออกคำ� สง่ั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลลพั ธต์ ามมา (Regulatives) 3) การใชภ้ าษาเพอ่ื แสดงอารมณ์
ความรู้สึก (Avowals) ซ่ึงนักขา่ วพลเมืองสามารถสามารถปรับใชก้ ลยทุ ธไ์ ดอ้ ย่างลืน่ ไหล พลิกแพลงตาม
สถานการณแ์ ละประเด็นการต่อสู้ทเี่ ปลี่ยนไป โดยในแต่ละชิน้ งานอาจมกี าร “กระท�ำเชงิ ภาษา” (Speech
act) อยู่มากกว่า 1 รปู แบบ
       ทงั้ นยี้ งั พบอกี วา่ “รหสั ” ของการสอ่ื สารในขา่ วพลเมอื ง ทง้ั รหสั ของภาษาและรหสั ภาพนน้ั มกี าร
ผสมผสานทงั้ รหสั แบบ “ชาวบา้ นทว่ั ไป” (Restricted Code) กบั รหสั แบบ “สอ่ื มวลชน” หรอื “ชนชน้ั กลาง”
(Elaborated Code) นอกจากนี้ยังผสมผสานระหว่างรหัสท่ีสื่อสารกับผู้รับสารจ�ำนวนมาก (Broadcast
Code) กับรหสั แบบเฉพาะกลุ่ม (Narrowcast Code) ข่าวพลเมืองจึงเป็นการ “เลา่ เรือ่ ง” ท่มี สี ่วนผสม
ระหว่างรหัสของชาวบ้านกับมอื อาชพี เอาไว้ดว้ ยกนั หาใชร่ หสั แบบชาวบา้ นเฉพาะกลุ่มเท่าน้ัน
       ส�ำหรับปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อการเข้าสู่พนื้ ทส่ี าธารณะและการใชพ้ ื้นท่สี าธารณะผา่ นทางรายการนักขา่ ว
พลเมอื ง สถานโี ทรทศั นไ์ ทยพบี เี อสของคนชายขอบ พบวา่ มปี จั จยั ทจี่ ำ� เปน็ (Necessary factor) ในหว้ ง
เวลาทเ่ี หมาะเจาะ ในการเข้าสูพ่ นื้ ท่สี าธารณะของคนชายขอบอยู่ 2 ปัจจยั คอื 1) นโยบายของสถานไี ทย
พีบีเอส ทต่ี ้องการสรา้ งพนื้ ท่สี าธารณะ ซ่ึงถอื เปน็ เงื่อนไขในทางสงั คม (Social condition) 2) จิตส�ำนึก
สาธารณะ (Social consciousness) ของคนชายขอบ สว่ นปจั จยั พอเพยี ง (Sufficient factor) คอื ลกั ษณะ
ของนักข่าวพลเมือง มกั เปน็ กลมุ่ ชนช้ันน�ำ (Elite) เป็นกลุ่มคนทม่ี ี “ทนุ ความร้”ู และประสบการณใ์ นการ
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76