Page 70 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 70
6-60 ความรู้เบ้ืองต้นการสอ่ื สารชมุ ชน
สร้างบทบาทในการเปน็ เวทีทางความคดิ และการมีสว่ นรว่ มระหวา่ งผู้สมัคร ส.ส. หรือการเมอื งท้องถิ่นกับ
ประชาชนไมม่ ากพอ ซงึ่ หากสามารถท�ำใหเ้ วทีมคี วามเป็นกลาง ใหข้ อ้ มลู ทถี่ กู ต้อง กจ็ ะมีสว่ นช่วยในการ
พัฒนาทางการเมอื งอย่างมาก
นภินทร ศิริไทย (2546) ศึกษาการสื่อสารทางการเมืองของภาคประชาชน: กรณีศึกษาคณะ
กรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) พบว่า การสื่อสารของภาคประชาชนในห้วงการรณรงค์ก่อน
และหลงั การประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2540 นน้ั ยงั ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมายทเ่ี ปน็ ภาคประชาชน
ไดท้ กุ กลมุ่ แตภ่ ายหลงั ปี 2540 กลบั ทำ� หนา้ ทส่ี อื่ สารทางการเมอื งไดด้ มี าก โดยทำ� การสอื่ สารผา่ นการสอ่ื สาร
ระหวา่ งบุคคล ผ่านสอื่ มวลชน ชอ่ งทางพิเศษและผา่ นเครือข่าย โดยหากสามารถสรา้ งความต่อเนอ่ื งและ
ความน่าเชื่อถือขององค์กรให้มากขึ้น ก็จะท�ำให้มีบทบาทในการสร้างความเข้มแข็งทางการเมืองแก่ภาค
ประชาชนในระดับสูง
ช่ืนกมล ทิพยกุล (2542) ศึกษารูปแบบการสื่อสารในสภากาแฟของประชาชนในจังหวัดตรัง ท่ี
สอื่ สารกนั ในสภากาแฟ พบวา่ มบี ทบาทของการสนทนา มวี ธิ กี ารสนทนาโตต้ อบ โดยผเู้ ขา้ รว่ มการสนทนา
จะมีหลายบทบาท มีการเปิดประเด็น การสนับสนุน การโต้แย้งบนพื้นฐานของเหตุผล แต่ละคนจะมี
บทสรปุ กนั เองในหวั ขอ้ ทพี่ ดู คยุ ทง้ั เศรษฐกจิ การเมอื ง สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม โดยสำ� หรบั แงม่ มุ ของผนู้ ำ� ชมุ ชนนนั้
สภากาแฟมีพลังการปลกุ กระแสสำ� นึกทางการเมอื ง เปน็ ประชาคมทีเ่ ปน็ พลังในการขบั เคล่อื นชุมชน
งานของ มนทกานต์ ตปนียางกูร (2545) ท�ำการศึกษา “พัฒนาการส่ือประชาสังคมไทยบน
อนิ เทอรเ์ นต็ ” ในยคุ ตน้ ๆ ของสงั คมไทย พบวา่ มคี วามเชอื่ มโยงในทางเครอื ขา่ ยมบี ทบาทในการสรา้ งความ
เข้มแข็งให้กับภาคประชาชน ให้ข้อมูลข่าวสารที่แตกต่างจากสื่อกระแสหลัก แต่ก็พบว่าการสื่อสารบน
กระดานสนทนายงั เปน็ การสอ่ื สารผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ใชก้ ารโตแ้ ยง้ แบบอารมณม์ ากกวา่ เหตผุ ล อยา่ งไรกต็ าม
ก็ไดช้ ว่ ยใหเ้ กดิ เครอื ขา่ ยภาคประชาสังคมเกดิ ขึ้น
งานศึกษาของ โศจวิ ัฒน์ บญุ ประดษิ ฐ์ และคณะ (2549) ศึกษาชมุ ชน “บา้ นครัว” ซงึ่ เป็นชมุ ชน
เลก็ ๆ กลางกรงุ เทพฯ ได้รับผลกระทบจากการขอเวนคนื พ้ืนท่เี พ่ือสร้างทางดว่ นขนั้ ที่ 2 ในสภาวะทีว่ ิกฤติ
ภายในชมุ ชนไดส้ รา้ งสภาวะการสอ่ื สารรปู แบบใหมข่ นึ้ มาในชมุ ชน โดยชมุ ชนไดร้ ว่ มกนั สอ่ื สารเพอ่ื รว่ มกนั
แกป้ ญั หา โดยเหตสุ ำ� คญั ทท่ี ำ� ใหช้ มุ ชนเอาชนะการทางพเิ ศษไดก้ ค็ อื อยทู่ กี่ ารสอ่ื สารทเ่ี ขม้ แขง็ ในภาวะวกิ ฤติ
งานของ นิศาชล ทวนทอง (2549) ศึกษา “การเสนอวาระสาธารณะกรณกี ารคัดค้านการแปรรูป
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยในส่ือมวลชนของสหภาพแรงงานฯ” พบว่าการเคล่ือนไหวเร่ืองการ
แปรรปู รฐั วสิ าหกจิ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ประเดน็ ทสี่ นใจของขา่ วในสอื่ โทรทศั น์ แตก่ ลบั ไดร้ บั ความสนใจจากหนงั สอื พมิ พ์
กลุ่มเนื้อหาเชิงคุณภาพได้เปิดพ้ืนที่ให้กับฝ่ายคัดค้าน ขณะที่หนังสือพิมพ์แบบประชานิยมค่อนข้างเสนอ
ข่าวเชิงประนปี ระนอมกบั รัฐบาล ซง่ึ ทำ� ใหก้ ารเคลือ่ นไหวขาดพลัง
อยา่ งไรกต็ ามพบว่า สือ่ เวบ็ ไซต์ ทพ่ี นักงาน กฟผ. ผลติ ขึน้ มาในลักษณะ “สื่อพลเมือง” กลับมี
ศกั ยภาพในการสอ่ื สารใน 3 ระดบั คอื การสอ่ื สารภายในกบั พนกั งาน กฟผ. ในการขบั เคลอ่ื นขบวนคดั คา้ น
การสอ่ื สารกบั ภาคประชาสงั คมอน่ื ๆ และการตอบโตข้ า่ วสารกบั ทางรฐั บาลดว้ ยการใชข้ อ้ มลู หรอื ขอ้ เทจ็ จรงิ
และกระตนุ้ ในการออกมาคดั คา้ นปกปอ้ งกจิ การสาธารณะ และพบวา่ องคป์ ระกอบการเคลอื่ นไหวของ กฟผ.
นัน้ ถอื เป็นขบวนการเคลือ่ นไหวทางสงั คมรูปแบบใหม่