Page 48 - ภาษาเขมรเชิงธุรกิจ
P. 48
14-38 ภาษาเขมรเชงิ ธุรกจิ
เรืองที 14. .
คาํ อธิบายประกอบเกยี วกบั บทสนทนาเรืองการขนส่งสินค้า
ในบทสนทนาเร่ืองการขนสง่ สินคา้ มคี ําศพั ทแ์ ละสาํ นวนการใชภ้ าษาทค่ี วรทราบ ดังน้ี
1. การใช้คาํ และสํานวน
1.1 การใช้คําทีเกียวข้องกับพิธีการศุลกากร การขนส่งสินค้าในกัมพูชาเกี่ยวข้องโดยตรงกับนําเข้า
และส่งออกสินค้า ซ่ึงจะต้องผ่านพิธีการศุลกากรทั้งการตรวจสอบสินค้าต้องห้ามรวมถึงการเก็บภาษีอากร
จึงจําเปน็ ทจี่ ะตอ้ งรจู้ กั คาํ ศัพท์เกี่ยวกบั พธิ ีการศลุ กากรดว้ ย เชน่
คําว่า នយកដឋ នគយនិងរដឋ ករ “กรมศุลกากรและสรรพสามิต” เกิดจากการรวมกันระหว่างคําว่า
នយកដឋ ន “กรม” + គយ “ศุลกากร” + និង “และ” + រដឋ ករ “สรรพสามิต” หากใช้คําว่า ករយិ ល័យ
“สํานักงาน” แทนคาํ ว่า នយកដឋ ន เป็น ករយិ ល័យគយនិងរដឋ ករ จะมีความหมายว่า “สํานักงานศุลกากร
และสรรพสามิต” ซึง่ เปน็ หนว่ ยงานย่อยของกรมอีกลําดับหน่ึง โดยท่ัวไปนิยมใช้คําว่า រដឋ ករគយ ในภาษาพูด
วา่ “กรมศลุ กากร”
คําว่า ឯកសរចុះរបតិេវទន៍គយ “ใบศุลกากร (Customs Declaration)” เกิดจากการประสมคํา
ระหว่าง ឯកសរ “เอกสาร” + ចុះ “ลง(บัญชี)” + របតិេវទន៍ “แจ้ง, ประกาศ” + គយ “ศุลกากร” คําว่า ឯក
សរចុះរបតិេវទនគ៍ យ หากแปลตามรูปศพั ทจ์ ะมคี วามหมายวา่ “เอกสารลงบัญชีแจ้งศุลกากร” เอกสารดังกล่าว
สามารถเรียกอีกช่ือหนึ่งว่า លិខិតរយករណ៍ គយ เกิดจากการประสมคําระหว่าง លិខិត “หนังสือ, ใบ” +
រយករណ៍ “รายงาน” + គយ “ศลุ กากร” รวมกนั แปลตามรปู ศพั ท์วา่ “ใบรายงานศลุ กากร”
คําว่า រយករណ៍ “รายงาน” นี้ หากตามหลังคําว่า រតូវ “ต้อง” รวมเป็น រតូវរយករណ៍ จะแปลว่า
“ต้องสําแดง” ในสํานวน ឥវ៉ ន់រតូវរយករណ៍ “สิ่งของต้องสําแดง” ซ่ึงใช้ ឥវ៉ ន់រតូវរបកស ในความหมาย
เดยี วกันได้ เนอ่ื งจาก របកស แปลว่า “แสดง” หรอื “สําแดง” เชน่ เดยี วกนั
คําว่า លិខិតអនុញញ តគយ “ใบอนุญาตศุลกากร (Customs Permit)” เป็นการรวมกันระหว่างคําว่า
លិខិត “หนังสือ, ใบ” + អនុញញ ត “อนุญาต” + គយ “ศุลกากร” สําหรับคํานี้ในภาษาไทยอาจแปลว่า “ใบสั่ง
ปล่อย” กไ็ ด้
คําว่า ពនធេលករនំចូល “ภาษีนําเข้า” เกิดจากการประสมคําระหว่าง ពនធ “ภาษี” + េល “บน, ใน
เรอื่ ง” + ករនចំ ូល “การนาํ เข้า”
คําว่า ពនេធ លតៃមលបែនមថ “ภาษีมูลคา่ เพิ่ม (VAT)” เกดิ จากการประสมคําระหว่าง ពនធ “ภาษี” + េល
“บน, ในเรอื่ ง” + តៃមល “ราคา, มูลค่า” + បែនថម “เพิม่ , แถม”