Page 33 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 33
ลกั ษณะทวั่ ไปของภาษา 1-23
6. What are the Vedas?
เรื่องที่ 1.2.3
ภาษาเป็นสัญลักษณ์
ถา้ เราพจิ ารณาภาษาทเี่ ราใชอ้ ยา่ งถถี่ ว้ นแลว้ จะเหน็ วา่ คำ� หรอื เสยี งทเี่ ราเปลง่ ออกมานนั้ มไิ ด้
มีความสัมพันธ์โดยตรงกับส่ิงท่ีค�ำหรือเสียงนั้นหมายถึงเลย การท่ีค�ำต่างๆ ท่ีเราใช้หมายถึงส่ิงนั้น
ส่ิงน้ีได้ เพราะมีการตกลงล่วงหน้าแล้วว่าจะให้เป็นเช่นนั้น การตกลงกันน้ีมิได้เกิดจากการประชุม
หรือกฎเกณฑ์ที่ก�ำหนดออกมาเป็นทางการ แต่เป็นการยอมรับระบบที่ใช้ต่อเน่ืองกันมา และการ
ศึกษาระบบนั้นๆ ของคนแต่ละรุ่นแต่ละสมัย อันท่ีจริงในแง่ของหลักการแล้ว ภาษาที่เราใช้กันนั้น
ไมแ่ ตกตา่ งจากสญั ลกั ษณท์ เี่ ราสรา้ งขน้ึ เพอื่ ใชใ้ นวงการตา่ งๆ เชน่ คณติ ศาสตรห์ รอื คอมพวิ เตอรเ์ ลย
ในการสำ� รวจคำ� ตา่ งๆ ทใ่ี ชใ้ นภาษาแตล่ ะภาษานน้ั จะพบวา่ มคี ำ� จำ� นวนหนง่ึ ทด่ี เู หมอื นวา่ จะ
มีความสัมพันธ์โดยตรงกับความหมาย แต่ค�ำประเภทน้ีมีไม่มาก ส่วนใหญ่จะเป็นค�ำท่ีเลียนเสียง
ธรรมชาติ เช่น เปร้ยี ง ปัง ครนื ในภาษาไทย bang, buzz, cuckoo ในภาษาองั กฤษ แตส่ �ำหรับ
คนทพี่ ดู ภาษาอน่ื ความหมายของคำ� เหลา่ นกี้ ไ็ มก่ ระจา่ งชดั ตวั อยา่ งทเี่ หน็ ไดง้ า่ ยคอื เสยี งไกข่ นั ใน
ภาษาไทยไก่ขนั เอ๊ก อิ เอก๊ เอ๊ก ในภาษาอังกฤษ ไกข่ ัน cock-a-doodle-doo ในภาษาฝร่ังเศส
เสียงไก่ดัง cocorico อันท่ีจริงแล้วไก่ไทยหรือไก่ฝรั่งก็ขันเหมือนกัน แต่คนไทย คนอังกฤษ และ
คนฝรงั่ เศสใชค้ ำ� สำ� หรบั เสยี งนนั้ ตา่ งกนั ไป ตวั อยา่ งคำ� ประเภทนแี้ สดงใหเ้ หน็ วา่ แมแ้ ตค่ ำ� ทเ่ี ลยี นเสยี ง
ธรรมชาติยงั มิได้มคี วามสัมพนั ธโ์ ดยตรงกับเสยี งเหลา่ น้นั เราจึงกลา่ วได้ว่า ค�ำต่างๆ ในภาษาเป็น
สญั ลกั ษณ์ และการใชภ้ าษาคอื การใชส้ ญั ลกั ษณเ์ หลา่ นใี้ นรปู แบบตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ ทรี่ กู้ นั ในหมผู่ ใู้ ชภ้ าษา
น้นั ๆ