Page 40 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 40

1-30 ภาษาองั กฤษส�ำ หรับครูสอนภาษา

เรื่องที่ 1.2.5
ภาษามีลักษณะที่เป็นสากลและลักษณะเฉพาะ

      ภาษาต่างๆ ท่มี นษุ ย์เราใชใ้ นการส่อื สาร แมว้ า่ จะแตกตา่ งกนั อย่างมากก็จรงิ ถ้าพิจารณาดู
ใหด้ แี ลว้ จะเหน็ ว่ามีลกั ษณะทเ่ี หมอื นกันอยหู่ ลายประการ เช่น ภาษาทกุ ภาษาใชเ้ สียงในการส่ือสาร
และเสียงนี้คือลมหายใจท่ีออกจากปอด ผ่านหลอดลมเข้ามาในช่องปาก กระทบหรือเฉียดอวัยวะ
ต่างๆ ในปาก แล้วผ่านออกมาทางปากหรอื จมกู

      คนเราสามารถท�ำเสียงต่างๆ กันได้เป็นจ�ำนวนมาก ถ้าหากสังเกตเด็กอ่อนจะเห็นว่าระยะ
กอ่ นพดู และระหว่างระยะสอนพูด เดก็ สามารถท�ำเสียงทแี่ ตกต่างกนั ไดม้ ากมาย แต่เมื่อรูภ้ าษาแล้ว
จำ� นวนเสยี งทใ่ี ชใ้ นภาษาจรงิ ๆ นนั้ นอ้ ยกวา่ มาก เชน่ ภาษาองั กฤษใชเ้ สยี งสระและพยญั ชนะประมาณ
40 กวา่ เสยี งเทา่ น้ัน ภาษาไทยใช้เสยี งสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์รวมกันแลว้ ไมถ่ งึ 50 เสยี ง ใน
เรอ่ื งการออกเสยี ง ถา้ สงั เกตใหด้ จี ะเหน็ วา่ เสยี งเดยี วกนั คนคนเดยี วกนั พดู แตล่ ะครงั้ กไ็ มเ่ หมอื นกนั
ทเี ดยี ว เชน่ จะดังกวา่ หรือค่อยกว่า เป็นต้น และถ้าพิจารณาเสยี งในภาษาหนงึ่ กับอีกภาษาหนึง่ ทมี่ ี
วิธีการออกเสียงคล้ายกัน ลักษณะของเสียงอาจแตกต่างกันออกไปได้ เพราะการเคลื่อนเข้าหากัน
และการสัมผัสกนั ของอวยั วะทใ่ี ชใ้ นการออกเสยี งอาจไม่เหมอื นกนั เชน่ เสียง t และ b ขององั กฤษ
ใน คำ� วา่ tub แมจ้ ะคล้ายกับเสยี ง ท และ บ ของภาษาไทยในคำ� ว่า ทับ กต็ าม แต่เสียง ท/t และ
บ/b ไม่เหมือนกนั ถ้าเอามือป้องปาก แลว้ ออกเสียง ท และ t สลับกัน จะรูส้ กึ ว่าเม่ือออกเสยี ง t จะ
มลี มมาปะทะมอื แรงกว่าเสยี ง ท สว่ นเสยี ง บ และ b นั้น ถา้ เอานวิ้ จับตรงลกู กระเดือก จะรู้สกึ วา่
เมื่อออกเสยี ง b มกี ารเคล่ือนไหวมากกว่า บ เมื่อเปน็ ดังนค้ี �ำว่า tub และ ทับ แมจ้ ะออกเสียงคลา้ ย
กนั จะไมเ่ หมอื นกนั ทเี ดยี ว ดว้ ยเหตนุ ถี้ า้ คนองั กฤษหรอื อเมรกิ นั พดู ภาษาไทยดว้ ยเสยี งภาษาองั กฤษ
คนไทยจะรสู้ กึ วา่ แปรง่ หู ในทำ� นองเดยี วกนั ถา้ คนไทยพดู ภาษาองั กฤษดว้ ยเสยี งภาษาไทย เจา้ ของ
ภาษาก็คงแปรง่ หูเหมือนกัน ตัวอย่างทเี่ หน็ ได้ง่ายคือ คำ� อังกฤษท่ยี ืมมาใช้ในภาษาไทย เชน่ foot-
ball คนไทยจะออกเสยี งคำ� นี้ ดว้ ยนาํ้ หนักทเ่ี กอื บจะเทา่ กันท้ัง 2 พยางค์ และเสยี งท้ายจะเป็น “น”
แต่เจ้าของภาษาจะออกเสียงค�ำนี้ด้วยน้ําหนักที่พยางค์แรก และเสียงท้ายค�ำจะเป็นเสียง “l” เม่ือ
การออกเสยี งคำ� แตล่ ะคำ� แตกต่างออกไปเชน่ นี้ ผลรวมกค็ ือส�ำเนียงทแ่ี ปรง่ หู

      เม่ือภาษามีทั้งลักษณะท่ีร่วมกันอยู่และลักษณะที่แตกต่างกัน ในการศึกษาภาษาเราจะพบ
ลักษณะท่ีเรียกได้ว่าเป็นสากล คือมีร่วมกันในทุกภาษา และลักษณะเฉพาะตัว คือ ลักษณะที่
ไม่เหมอื นภาษาอื่นเลย ความแตกตา่ งของภาษาหน่งึ กบั อกี ภาษาหน่ึงจะอยูท่ ีล่ กั ษณะเฉพาะตวั ของ
ภาษาน้ันๆ ถ้าเราสามารถแจงลักษณะต่างๆ เหล่าน้ีได้อย่างละเอียดและถูกต้องแล้ว เราจะมี
เครอื่ งมอื ท่จี ะชว่ ยในการเรยี นและการสอนภาษาตา่ งประเทศเปน็ อย่างดี
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45