Page 64 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 64

1-54 ภาษาองั กฤษสำ�หรับครูสอนภาษา

เรื่องที่ 1.4.1
กาลเวลาและการกระจายของผู้ใช้ภาษา

      ตามท่ีได้กล่าวแล้วว่าภาษาเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ การเปล่ียนแปลงนี้เป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติ เพราะแต่ละคนเรยี นรภู้ าษาจากการได้ยนิ ไดฟ้ งั บคุ คลแวดล้อม เสยี งท่ีแตล่ ะคนเปล่งนั้น
แม้จะใกล้เคียงกันเพียงใดก็จะไม่เหมือนกันทีเดียว และถ้อยค�ำส�ำนวนท่ีใช้แตกต่างกันไปตาม
ประสบการณ์ ทศั นคติ และฉนั ทาคตขิ องแตล่ ะบคุ คล มผี ลทำ� ใหภ้ าษาทแ่ี ตล่ ะคนใชม้ ลี กั ษณะเฉพาะ
ตวั เรยี กวา่ idiolect การที่บุคคลในสังคมหนึง่ ๆ สามารถเข้าใจกันได้น้ันเปน็ เพราะความแตกตา่ ง
ส่วนมากเป็นรายละเอียดปลีกย่อยไม่กระทบกระเทือนระบบใหญ่ ภาษาเปิดโอกาสให้ผู้ใช้แสดง
ลกั ษณะเฉพาะตัวภายในขอบเขตเชน่ ข้อความขา้ งลา่ งน้ี ถ้าระดับเสยี งเปน็ ไปตามที่ระบุไว้

                                     Jane’s go ing
      กล่าวคือเร่ิมด้วยระดับเสียงกลางข้ึนสูงท่ี go และลดตํ่าท่ีพยางค์ท้าย ไม่ว่าผู้พูดจะมีเสียง
ทุ้ม เสยี งแหลม เสยี งหา้ ว พูดดงั หรือคอ่ ยอยา่ งไร ข้อความกย็ งั คงมคี วามหมายเหมือนกัน
      เม่อื ภาษาของคนแตล่ ะคนในรุน่ หนง่ึ ๆ มีลักษณะเฉพาะตวั แตกตา่ งไปจากภาษาของบุคคล
อื่น ก็เป็นธรรมดาที่ภาษาของคนต่างรุ่น ซึ่งมีประสบการณ์ ความเป็นอยู่ และค่านิยมแตกต่าง
มากกวา่ คนรว่ มร่นุ จะแตกต่างมากขึ้นไปอีก ความแตกตา่ งระหวา่ งรุ่นใกล้ๆ กนั มักจะไมค่ ่อยมาก
ไมก่ ระทบกระเทอื นระบบใหญ่ แตเ่ มอ่ื รวมกนั หลายๆ รนุ่ อาจมผี ลทำ� ใหล้ กั ษณะภาษาแตกตา่ งไปได้
อยา่ งมาก คนรนุ่ ใหมอ่ าจไม่เข้าใจภาษาของคนร่นุ เกา่ ถา้ ไมไ่ ด้ศกึ ษาระบบภาษาของคนรนุ่ นัน้ เชน่
ภาษาองั กฤษสมยั ชอเซอร์ (Chaucer) กวเี อกขององั กฤษในสมยั กลาง มชี วี ติ อยรู่ ะหวา่ ง ค.ศ. 1340-
1400 เมอ่ื เทยี บกบั ภาษาองั กฤษสมยั เชคสเปยี ร์ (Shakespeare) กวเี อกตอนตน้ ของสมยั ใหม่ ระหวา่ ง
ค.ศ. 1564-1616 จะเหน็ วา่ แตกต่างกนั อย่างเหน็ ได้ชดั ทั้งทางด้านเสียง โครงสร้าง และศพั ท์ ทัง้ ๆ
ทช่ี ว่ งเวลาหา่ งกันประมาณ 200 ปี หรือ 6-7 ช่วงอายุคนเทา่ นนั้
      การโยกย้ายที่อยู่ของคนที่พูดภาษาเดียวกันไปตามท่ีต่างๆ ก็อาจท�ำให้ภาษาเปล่ียนแปลง
ได้ เพราะสภาพภมู ปิ ระเทศอาจท�ำใหบ้ คุ คลเหลา่ นนั้ ขาดการตดิ ตอ่ กนั เปน็ ตน้ วา่ ชนสองกลมุ่ อพยพ
แยกยา้ ยออกไปจากแหลง่ เดยี วกนั แต่ไปตงั้ ถ่นิ ฐานคนละฟากของแมน่ ํ้าและเทือกเขา เมอ่ื ตอนทีจ่ ะ
เรม่ิ แยกกนั ทงั้ สองกลมุ่ พดู เหมอื นกนั หรอื ใกลเ้ คยี งกนั มาก แตห่ ลงั จากทแ่ี ยกยา้ ยกนั ไปแลว้ ขาดการ
ตดิ ตอ่ กนั ไป ลกั ษณะการเปลย่ี นแปลงของภาษาทงั้ สองกลมุ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาตอิ าจจะไมต่ รงกนั
และอตั ราความเรว็ ในการเปลยี่ นแปลงอาจแตกตา่ งกนั ไป เพราะสภาพสงั คมและการทำ� มาหากนิ อาจ
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69