Page 60 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 60
1-50 ภาษาอังกฤษสำ�หรับครูสอนภาษา
หรือหน้าท่ีแตกต่างออกไป เช่น présent เป็นค�ำนามมีความหมายว่า “ของขวัญ” หรือคุณศัพท์
ขยายนามหมายความว่า “ปัจจุบัน” เช่น the présent state “สภาพปัจจุบัน” หากลงน้ําหนัก
ท่ีพยางคท์ ่ีสอง presént จะเป็นค�ำกริยามคี วามหมายว่า “มอบให้” การออกเสยี งวรรณยกุ ต์ผดิ ใน
ภาษาไทยจะทำ� ใหไ้ มส่ ามารถสอื่ ความตามทต่ี อ้ งการได้ หากลงนาํ้ หนกั ผดิ ในภาษาองั กฤษกจ็ ะมผี ล
เชน่ เดยี วกนั
อกี ประการหนง่ึ นกั ศกึ ษาอาจสงั เกตความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาพดู และภาษาเขยี นทเี่ หน็ ได้
ชดั คอื ในภาษาองั กฤษจะใชเ้ ครอ่ื งหมายวรรคตอน เชน่ อกั ษรตวั แรกของคำ� ทเ่ี รมิ่ ตน้ ประโยคจะเปน็
อกั ษรตวั ใหญ่ และหลงั คำ� สดุ ทา้ ยของประโยคจะมจี ดุ ทเี่ รยี กวา่ full stop (ภาษาองั กฤษแบบองั กฤษ)
หรอื period (ภาษาองั กฤษแบบอเมรกิ นั ) สว่ นภาษาไทยนนั้ คำ� ทป่ี ระกอบขน้ึ มาเปน็ ประโยคจะเขยี น
ติดกันไปไม่เว้นชอ่ งระหว่างค�ำอย่างในภาษาองั กฤษ ถ้าเราพจิ ารณาตามความเป็นจริงจะเห็นว่าใน
การพูดเราไมไ่ ดพ้ ูดทีละค�ำ แตจ่ ะพดู ตอ่ เน่อื งกนั ไปจนจบช่วงหายใจออกหรอื จบความ หากเราอา่ น
ภาษาองั กฤษตามคำ� ทเี่ ขยี นคอื อา่ นทลี ะคำ� ผฟู้ งั จะรสู้ กึ วา่ ความไมต่ อ่ เนอื่ งกนั สว่ นในภาษาไทยการที่
ค�ำเขียนติดต่อกันไป หากผู้อ่านไม่รู้เรื่องท่ีก�ำลังอ่านอาจแยกค�ำผิด เช่น หลังจากอาบนํ้าเรียบร้อย
แล้ว เขาก็ไปน่ังตากลมที่ระเบียง ผู้อ่านอาจอ่านว่า เขาก็ไป นั่ง “ตา กลม” แทนท่ีจะอ่านว่า
“ตาก ลม” คำ� ไทยบางคำ� อาจออกเสยี งไดส้ องแบบและมคี วามหมายแตกตา่ งกนั ไป เชน่ สระ ทอ่ี อก
เสียงว่า [สะหระ] ค่กู บั พยญั ชนะ และ [สะ] แอ่งน้ําขนาดใหญ่หรอื ช�ำระ ฟอก ลา้ ง (หวั /ผม) ใน
การสื่อสารตามปกติไม่ค่อยมีปัญหาเพราะข้อความแวดล้อมจะช่วยให้รู้ว่าก�ำลังพูดถึงอะไร แต่ถ้า
ตอ้ งการแปลคำ� นเี้ ปน็ ภาษาองั กฤษและไปเปดิ พจนานกุ รมจะพบวา่ คำ� นแ้ี ปลไดส้ ามอยา่ ง เชน่ มสี ระ
อยู่ในสวน อาจจะแปลวา่ There is a vowel in the garden. ท�ำใหผ้ ตู้ รวจงานมีเรือ่ งข�ำขนั มาเลา่
ใหเ้ พือ่ นฝูงฟงั
การท่ีกล่าวมาท้ังหมดนี้ก็เพื่อให้นักศึกษาที่สนใจสามารถสังเกตและศึกษาภาษาตามแนว
วิทยาศาสตร์ไดด้ ้วยความสนกุ และช่วยให้เห็นปัญหาในการศกึ ษาภาษาตา่ งประเทศ
แบบฝึกปฏิบัติท่ี 11
ให้นักศึกษาอ่านข้อความข้างล่างนี้ หากถูกต้องตามความเป็นจริงให้เขียน T หากผิดให้
เขียน F
1. ผคู้ นสว่ นใหญค่ ดิ วา่ การเรยี นภาษาคอื การออกเสยี งคำ� ไมต่ า่ งจากการออกเสยี งตามปกตใิ น
ภาษาของตน
2. เดก็ เลก็ ๆ หดั พดู โดยฟงั และแยกแยะสิ่งต่างๆ ท่ไี ดย้ ินไดฟ้ งั รอบตวั
3. การศกึ ษาภาษาศาสตร์นน้ั จ�ำเปน็ ตอ้ งใชเ้ ครอื่ งมือวัดความถี่ของคลนื่ เสยี ง
4. เราอาจจดั ประเภทของสระได้ง่ายๆ ตามระดับของการยกลิน้ เชน่ สงู หรือ ตา่ํ